แปรรูปช่อง 11 หนีไม่พ้นทีวีเพื่อการค้า
ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ ยังเดินหน้าแปรรูปช่อง 11 ไม่ยอมถอย แม้เอเชียวิชั่นส์จะพบกับปัญหา
ไพ่ในมือใบต่อไปของปิยะณัฐ ถูกหงายขึ้นอีกครั้ง ครั้งนี้ปิยะณัฐเลือกวิธีตั้งบริษัทร่วมทุนตามรอยช่อง
5 แทนการแปรรูปแยกช่อง 11 ออกจากอกกรมประชาสัมพันธ์ หวังลดกระแสต่อต้าน แบไต๋เตรียมให้มีโฆษณาเต็มรูปแบบ
เอกชนกรีธาทัพขอร่วมวง ขณะที่ ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล แบะท่า ช่อง 11 อาจหนีไม่พ้นโทรทัศน์เพื่อการค้า
เตรียมนำยูเอชเอฟที่เหลืออีกมาทดแทน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
ช่อง 11 ผู้กำเนิดท่ามกลางเสือสิงห์
"ช่อง 11 เข้าสู่ยุทธจักรทีวีด้วยการสร้างความแตกต่างกับช่องอื่น ๆ
เน้นด้านการศึกษา สารคดี และไม่มีโฆษณา ท่ามกลางภาวะการแข่งขันอันดุเดือดเช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)
ฉลวย เรืองชาญ อนาคตของเขาฝากไว้ที่ช่อง 11
วันที่ 11 เมษายน "APRIL FOOL'S DAY" ตามธรรมเนียม "ฝรั่ง" ที่คนในซีกตะวันตกทราบกันดีว่าเป็นวันแห่งความหลอกลวงและไม่จริงจังกับเรื่องราวที่เกิดขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2531)
NBT โทรทัศน์เพื่อชาติและพวกพ้อง
วงกลมสีน้ำเงิน บนพื้นขาว กลายเป็นโลโก้ใหม่ใหม่บนหน้าจอโทรทัศน์ เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งใหม่ที่ชื่อว่า NBT (National Broadcasting of Thailand) นับจากนี้คือการเริ่มต้นการเปลี่ยนโฉมช่อง 11 ที่รัฐบาลชุด “สมัคร สุนทรเวช” อยากบอกท่านผู้ชมว่า โปรดลืมช่อง 11 แบบเดิมๆ ไปได้เลย…
(Positioning Magazine เมษายน 2551)
ช่อง 11 คุยข่าวภาคอินเตอร์
เป็นหน่วยงานราชการที่กำลังอยู่ในระหว่างเปลี่ยนผ่านองค์กรสู่ยุค Service Delivery Unit (SDU) ที่บริหารงานแบบเอกชนแต่อยู่ภายใต้การกำกับของรัฐบาล เริ่มตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2548 เป็นต้นไป ต้องหารายได้เลี้ยงตัวเองทิศทางในอนาคตจึงเน้นการร่วมลงทุนกับเอกชนเพื่อผลิตรายการ ซึ่งก็เป็นแนวทางที่น่าจับตา
(Positioning Magazine กันยายน 2548)
เจ บุนนาค Newsline’s Anchor
หนึ่งในพรีเซ็นเตอร์ที่เป็นสัญลักษณ์ของรายการข่าว Newsline ที่ออกอากาศเป็นประจำทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ เวลา 21.30-22.30 น. ทางช่อง 11 ด้วยบุคลิกยิ้มแย้มแจ่มใส พูดจาชัดถ้อยชัดคำ เป็นผู้ประกาศข่าวที่มีแฟนคลับมากพอๆ กับดาราทีเดียว เจเข้ามาร่วมงานกับช่อง 11 ตั้งแต่ปี 2541
(Positioning Magazine กันยายน 2548)
ชงเก็บเพิ่ม สัมปทานฟรีทีวี 3 - 7 แปลงโฉมช่อง 11 เป็นทีวีสาธารณะ
ในขณะที่ข่าวสารบ้านเมืองกำลังให้ความสนใจอยู่กับจุดจบยกแรกของสื่อเสรี ไอทีวี ที่มีจุดกำเนิดภายหลังจากเหตุการณ์ความขัดแย้งในบ้านเมือง พฤษภาทมิฬ 2535 โดยคณะรัฐมนตรีเฉพาะกาลของนายอานันท์ ปัณยารชุน การก่อรัฐประหาร กันยายน 2549 ก็กำลังนำมาซึ่งการกำเนิดของสื่อเสรีอีกสถานี ที่รัฐบาลขิงแก่ของ พล อ.สุรยุทธ จุลานนท์ เป็นผู้ขับเคลื่อน ภายใต้ชื่อ ทีวีสาธารณะ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มีนาคม 2550)