ปูนซีเมนต์ รอดีมานด์ฟื้นตัว
ทางรอดของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศเป็นเรื่องยากลำบากมาก เพราะนอกจากจะรอดีมานด์ในประเทศฟื้นตัวแล้ว ทางรอดอีกด้านคือ การส่งออก ซึ่งก็มีการแข่งขันกันสูงมากในภูมิภาคนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
ชลประทานซีเมนต์ โผล่พ้นผิวน้ำแล้ว!
บริษัทซีเมนต์รายเล็กที่สุดในประเทศ-ชลประทานซีเมนต์ ซึ่งมีเรื่องราวการเข้าออกของผู้ถือหุ้นหลายกลุ่ม
จนกระทั่งกลายเป็นกิจการที่ไม่มีเจ้าของรับผิดชอบเด่นชัด แต่การณ์กลับกลายเป็นว่า
ข้อด้อยกลายเป็นจุดเด่น บริษัทซีเมนต์ยุโรปรายใหญ่อันดับ 4 ของโลก - Ciments
Francais - สนใจเข้ามาลงทุนและซื้อกิจการพร้อมปรับโครงสร้างหนี้ ได้เงื่อนไขที่ดีเอามากๆ
ด้วย หนี้สินจำนวนเกือบ 4,000 ล้านบาทได้รับการปรับโครงสร้าง เจ้าหนี้ได้รับการชำระเงินไปส่วนหนึ่ง
กิจการได้รับการปรับปรุงจนสามารถดำเนินการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2542)
"กองทัพงูเห่าวันนี้ไม่มีลูกเขยคุณหญิง"
ต้นเดือนกรกฎาคมนี้จะไม่มีกรรมการผู้จัดการที่ชื่อ "วราวุธ วงศ์วิเศษ"
ที่ชลประทานซีเมนต์อีกต่อไปแล้ว แปดเดือนเต็มที่วราวุธจำต้องแบกภารกิจบริหารกิจการที่ไร้ประสิทธิภาพนี้ไว้อย่างจำใจ
ตามคำขอร้องของถาวรสวัสดิ์ ชวะโนทัย น้อยเขยผู้ถือหุ้นใหญ่ในชลประทานซีเมนต์ขณะนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
ชาญอิสสระกรุ๊ป เปิดแผนลงทุนสร้างอาณาจักรธุรกิจ 3 พันล้าน
เปิดแผนลงทุน กลุ่มชาญอิสสระ ตั้งเป้ารุกตลาดบ้านเดี่ยว คอนโดมีเนียม และรีสอร์ต
เน้นบริหารสัดส่วนรายได้จากค่าเช่าและดูแลบริหารโครงการ 20-30% รวมกับรายได้จากการขาย
80% ชี้โอกาสลงทุนในธุรกิจผลิตวัสดุก่อสร้างพรีแฟบ จากโอกาสธุรกิจก่อสร้างสำเร็จรูปเติบโต
พร้อมเตรียมพัฒนาอีก 4-5 โครงการใหม่ หวังทำยอดขายรวม 2,000-3,000 ล้านบาทใน 5
ปี
(ผู้จัดการรายวัน 16 กุมภาพันธ์ 2547)