Birdy ห้ามจัดโปรโมชั่นเกินปีละ 1 ครั้ง
ตลาดกาแฟมีการแบ่งกลุ่มผู้เล่นที่ชัดเจนว่าใครจะทำตลาดตรงส่วนไหน หากเป็นกาแฟสดก็แข่งกันระหว่างแบรนด์นอกกับแบรนด์ไทย ระดับราคาก็เน้นลูกค้าระดับกลางขึ้นไป ส่วนกาแฟสำเร็จรูปก็มีรูปแบบที่ใกล้เคียงกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
สงครามชาเขียว ทิปโก้ยังเป็นรอง
สงครามชาพร้อมดื่มมูลค่า 3,500 ล้านบาท ระอุในหน้าร้อนนี้ ยังมียูนิฟเป็นแบรนด์นำชิงดำกับโออิชิ ที่มาแรงแซงหน้าทิปโก้ไปด้วยกลยุทธ์ปูพรมทุกช่องทางจำหน่ายจาก การเปิดเผยของโออิชิ อ้างว่ายอดขายสูงถึงเดือนละ 7 ล้านขวด จนทำให้ต้องเพิ่มไลน์การผลิตด้วยการอัดฉีดเงินลงทุนอีก 30 ล้านบาท ทำให้มีกำลังผลิตรวม 250,000 ลังต่อเดือน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
ทุกทางตันมีทางออก ทุกตลาดมีช่องว่าง
ท่ามกลางการแข่งขันทางธุรกิจที่ทุกแบรนด์ต่างก็พยายามเพิ่มและรักษาส่วนแบ่งการตลาดของตัวเอง จนกลายเป็นว่าทั้งตลาดมีแบรนด์ใหญ่ที่แทบจะยึดมาร์เก็ตแชร์ไปจนหมด แต่สำหรับ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อาจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลับเชื่อว่า “ทุกทางตันมีทางออกอยู่เสมอ” เหมือนกับคำกล่าว “There must be light at the end of tunnel”
(Positioning Magazine 13 กันยายน 2554)
เบื้องหลัง หมู ฉึก!ฉึก! เรื่องบังเอิญ แต่คิดมาดี
ภาพของเด็กสาวตัวเล็กหน้าตาน่ารักกับเสียงเจื้อยแจ้ว “หมู ฉึก!ฉึก!, ไก่ ฉึก!ฉึก!” แบบไม่ชัดถ้อยชัดคำ ทำให้เพียงแค่แรกเห็น TVC ชุด Answer ของรสดี ก็จดจำได้ทั้งคำโดนๆ ตัวแสดงและแบรนด์รสดี จัดเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
(Positioning Magazine ตุลาคม 2553)
ขอแค่ 1%
แม้ปีนี้เบอร์ดี้ได้ทุ่มงบการตลาดมากถึง 680 ล้านบาท ซึ่งสูงสุดนับตั้งแต่เบอร์ดี้ออกสู่ตลาดซึ่งมีระยะเวลานานถึง 17 ปี แต่ พิเชียร คูสมิทธิ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งในวันงานแถลงข่าวถึงกับลงทุนสลัดเสื้อเชิ้ตพร้อมเนกไท หันมาสวมเสื้อคอวีสีฟ้า และไม่ลืมเพิ่มความเท่ด้วยแว่นตากันแดด เพื่อให้เข้ากับภาพลักษณ์ใหม่ของแบรนด์เบอร์ดี้ที่ต้องดูโฉบเฉี่ยว โดยได้แสดงความเชื่อมั่นว่า จะขอส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้นอีกเพียง 1%เท่านั้น
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2553)
อายิฯเท650ล.บูมผงปรุง-ชูรสเดินเกมสร้างดีมานด์ดันอิมเมจ
อายิโนะโมะโต๊ะ อัด 650 ล้านบาท ลุยตลาดเครื่องปรุงรส-ผงชูรสมูลค่ากว่า 2 หมื่นล้านบาท ชูแผนสร้างดีมานด์ใหม่ปั้นรสน้ำแดง ขยายสู่เมนูอาหารจีน รั้งบัลลังก์ผู้นำตลาดกวาดแชร์ 66% ทิ้งห่างคนอร์ ส่งโกลบอลแคมเปญโฆษณาผงชูรส เร่งสร้างการรับรู้คอนเซปต์”อูมามิ รสอร่อย” เสริมภาพลักษณ์ผงชูรส เล็งต่อยอดสื่อถึงสุขภาพ หวังตอกย้ำสองบัลลังก์ผู้นำตลาดดันรายได้รวมปี 53 โตสองหลัก
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 12 มีนาคม 2553)
อายิฯพลาดเป้า7เดือนโต10%ปรับทีมขายเบอร์ดี้รับศึกหนัก
อายิฯ เร่งขยายโปรดักส์ไลน์กาแฟกระป๋องเบอร์ดี้ ปิดทางคู่แข่งรายเก่า-รายใหม่อย่างคิรินยักษ์แดนปลาดิบชิงชิ้นเค้ก 8.9 พันล้านบาท อัดฉีด 50 ล้านบาท ปั้นเบอร์ดี้ ริช แอนด์ สมูท รสชาตินุ่ม กลมกล่อม ขยายฐานคอกาแฟรสนุ่ม พร้อมปรับหน่วยขาย 400 ทีม ทะลวงร้านค้า สิ้นปีหวังเบอร์ดี้โต 7% รั้งตำแหน่งผู้นำตลาดครองแชร์ 70% และเป็นสินค้าเรือธงดันรายได้รวมโต 10% กวาด 2 หมื่นล้านบาท หลัง 7 เดือนพลาดเป้าโตแค่ 10%
(ผู้จัดการรายวัน 16 สิงหาคม 2550)
เบอร์ดี้ทุ่ม550ล.สกัดคู่แข่ง ปั้นริคโค่จับคนรุ่นใหม่พรีเมี่ยม
อายิฯ ยันปัจจัยลบรุมเร้า ตลาดอาหารเครื่องดื่มยังโตเท่าปีที่ผ่านมา ลั่นปีนี้ขอรายได้โตเป็นตัวเลขสองหลัก อัดฉีด 550 ล้านบาท สกัดผู้ท้าชิงกาแฟพร้อมดื่มเนื้อหอม คลอดสินค้าใหม่ลง 3 ตลาด ปลุกตลาดกาแฟอิ่มตัว ปั้นเบอร์ดี้ ริคโค่ กาแฟพรีเมียมขยายฐานคนรุ่นใหม่ ทุ่ม 50 ล้านบาท ปล่อยแคมเปญโปรโมชันครั้งแรก “ฉลอง 15 ปี ดื่มเบอร์ดี้ ลุ้นรถฟรี 15 คัน” สิ้นปีรั้งบัลลังก์ผู้นำตลาดกวาดแชร์เพิ่มเป็น 71-72%
(ผู้จัดการรายวัน 30 มีนาคม 2550)
"รสดี" เดินหมากลอยัลตี้โปรแกรม รักษาบัลลังก์ตลาดผงปรุงรส
ค่ายอายิโนะโมะโต๊ะ เปิดฉากปกป้องบัลลังก์เครื่องปรุงรส ส่งแคมเปญลอยัลตี้โปรแกรม "รสดี" รักษาฐานลูกค้าเก่า และรีแพกกิ้ง ขยายฐานกลุ่มลูกค้าคนรุ่นใหม่ สกัดคู่แข่งรุมกินเค้กตลาดเครื่องปรุงรส เซกเมนต์ผงที่มีแนวโน้มเติบโตดี แทนที่เซกเมนต์ซุปก้อน และผงชูรส ที่ตลาดเริ่มใกล้จุดอิ่มตัว
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 ตุลาคม 2552)
สร้างองค์กรแห่งความสุข ยุควิกฤตฟิตเข้มกับ 4 Happy
* หนทางนำพาองค์กรฝ่าพายุแห่งการเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุด
* ตอบโจทย์“ที่ทำงานน่าอยู่-คนทำงานมีสุข-ชุมชนสมานฉันท์”
* เรียนรู้หลักคิด-ประยุกต์สร้างHappy Work Placeทันสถานการณ์
* พร้อมแนวปฎิบัติองค์กรตัวอย่าง “ปลอดหนี้-ครอบครัวดี-มีน้ำใจงาม”
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 เมษายน 2552)
"เบอร์ดี้" สู้ศึกกาแฟกระป๋องรอบทิศรายใหม่ รายเก่า รุมชิงตลาดระดับบน - ล่าง
การแข่งขันในตลาดกาแฟพร้อมดื่มแบบกระป๋องปีนี้ ดูจะเข้มข้นขึ้นทุกขณะ เพราะแม้ว่าเบอร์ดี้จะครองตลาดไปแล้วกว่า 60% และเป็นรายแรกๆ ที่เข้าสร้างตลาดมาเป็นเวลากว่า 15 ปี แต่สถานการณ์ในตลาดนี้มีการขับเคี่ยวกันอย่างดุเดือด มีทั้งผู้เล่นรายเก่า และรายใหม่ที่พาเหรดเข้ามาในตลาดรวมมูลค่า 9,500 ล้านบาท เพราะจากเดิมที่มีเพียงผู้เล่นรายหลักคือเบอร์ดี้ ที่เป็นเบอร์หนึ่งมาตลอด ตามติดด้วยเนสกาแฟ 2 แบรนด์ครองตลาดรวมกันไม่ต่ำกว่า 90%
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 เมษายน 2551)