ชนกลุ่มน้อยกับโจทย์ CSR
“ซีเอสอาร์แบบไทยๆ เน้นบริจาคแต่ไม่มีระบบคิดที่เป็นกิจกรรม” จุดอ่อนของการดำเนินงานซีเอสอาร์ที่รัชฎาวรรณ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้จัดการสำนักประชาสัมพันธุ์ Intouch มองเห็นตลอดช่วงที่ทำงานกับอินทัชมานานกว่า 17 ปี ขณะเดียวกันก็ยอมรับว่าซีเอสอาร์ของบริษัท หรืออดีตชินคอร์ปอเรชั่น ซึ่งเธอมีหน้าที่ดูแลอยู่ด้วยนั้นก็เคยทำตามเทรนด์ซีเอสอาร์แบบไทยๆ มาก่อนเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2554)
Back stage show ที่แท้จริง
ทักษิณ ชินวัตร เป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มที่สร้างความมั่งคั่งใหม่รุ่นล่าสุด ในยุคที่เรียกกันว่า Globalization วิถีและจิตสำนึกของกลุ่มความมั่งคั่งใหม่นี้จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจเสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)
สิ้นสุดการรอคอย
วันจันทร์ที่ 23 มกราคม เวลาบ่ายสองโมงครึ่ง ห้องแถลงข่าวบนชั้น 3 ของโรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล เนืองแน่นไปด้วยสื่อมวลชนทั้งไทย และต่างประเทศหลายร้อยชีวิตที่มารอฟังการแถลงข่าวการขายหุ้นชินคอร์ปอเรชั่น (SHIN) ของตระกูล "ชินวัตร" และตระกูล "ดามาพงศ์" อันเป็นตระกูลหน่อเนื้อเดียวกันกับนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)
เครือข่ายทีวี “อินทัช”
กลุ่มบริษัทที่มีความพร้อมในการเป็นเครือข่ายรับส่งรายการทีวีถึงผู้ชมทุกกลุ่ม ทุกเซ็กเมนต์ที่ต้องจับตาอีกกลุ่มคือ บริษัทในเครือบริษัทชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรืออินทัช ที่มีบริษัทไทยคม จำกัด (มหาชน) เข้ามาวางตำแหน่งตัวเองเป็นผู้ให้บริการทีวีดาวเทียมมานานกว่า 10 ปีแล้ว ในนามบริษัทดีทีวี
(Positioning Magazine 6 กรกฎาคม 2555)
ยุทธศาสตร์ Successor Plan ที่ต้องเปลี่ยน
เป็นเวลากว่า 1 ปีที่ “สมประสงค์ บุญยะชัย” ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เตรียมหาซีอีโอใหม่ให้กับบริษัทในเครืออย่าง ไทยคม จำกัด (มหาชน) แทนผู้บริหารเดิมที่เกษียณอายุการทำงาน ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2554 ก็ได้ซีอีโอใหม่คือ “ศุภจี สุธรรมพันธุ์” อดีตผู้บริหารบริษัทข้ามชาติ “ไอบีเอ็ม” ถือว่าเป็นธรรมนียมที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนักของกลุ่มชินฯ ที่มีซีอีโอเป็นคนนอก
(Positioning Magazine 13 กันยายน 2554)
“ชินวัตร” ขอเกิดใหม่ เป็น “อินทัช”
แบรนด์ในความรู้สึกของผู้บริโภคเป็นสิ่งสำคัญ หากแบรนด์ชื่อเสีย วิธีการแก้ไขหนึ่งคือการเปลี่ยนชื่อหรือปรับภาพลักษณ์ หากภาพลักษณ์ปรับยาก เปลี่ยนชื่อเรียกไปเลยอาจง่ายกว่า อย่างที่บริษัท ชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เลือกเปลี่ยนให้คนเรียกชื่อองค์กรใหม่เป็น INTOUCH
(Positioning Magazine 8 เมษายน 2554)
กลุ่มชินร่วง!นักลงทุนแห่เทขาย-ADVANC อ่วม
ตลาดหลักทรัพย์ ปลื้ม! หุ้นไทยบวกเพิ่ม 11 จุด จากนักลงทุนคลายความกังวลหลังการตัดสินยึดทรัพย์อดีตนายกฯไร้ความรุนแรง อีกทั้งปัจจัยนอกประเทศช่วยสนับสนุน ดันต่างชาติซื้อสุทธิ 4.3 พันล้าน ยกเว้นหุ้นเครือชินคอร์ปร่วงยกแผง เพราะความกังวลผลคำตัดสินกระทบธุรกิจ ด้าน “ภัทรียา” แนะนักลงทุนติดตามข้อมูลใกล้ชิด รอผลกระทรวงไอซีทีพิจารณาสัญญาสัปทาน ด้านบล.เคจีไอ ประเมินกรณีเลวร้ายสุดหากADVANCต้องจ่ายค่าชดเชยย้อนหลัง พร้อมส่วนแบ่งรายได้จะกระทบราคาหุ้น ถึง13.30บาทต่อหุ้น ฝั่งก.ล.ตระดมทีมกฎหมายวิเคราะห์คำตัดสิน สอบหุ้นในกลุ่มชินคอร์ป ชี้หากพบฐานความผิดพร้อมดำเนินการต่อทันที
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 3 มีนาคม 2553)
ซีด้าร์ โฮลดิ้งส์รอราคาหุ้นSHINขยับเฉือนทิ้งบางส่วนแก้ปัญหาฟรีโฟลต
ชิน คอร์ปฯ ส่วนแก้ปัญหาฟรีโฟลทผู้ถือหุ้นใหญ่รอจังหวะราคาเหมาะสมเหตุต้นทุนลงทุนหุ้น SHIN สูง ขณะปัจจุบันเทรดต่ำกว่ามูลค่าเหมาะสมถึง 24% ยันมีฐานะบริษัทสัญชาติไทย ชี้ผู้ถือหุ้นใหญ่ "ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ " เป็นบริษัทไทย อ้างได้รับหนังสือรับรอง ตามพรบ.ต่างด้าว-พรบ.โทรคมนาคม ส่งผล "แอดวานซ์ อินโฟร์ " เดินหน้าประมูล-ลงทุน3 จีได้
(ASTVผู้จัดการรายวัน 20 พฤศจิกายน 2552)
SHINเล็งแก้ฟรีโฟลทป้องถอนยวงจากตลท.
ชิน คอร์ปอเรชั่น ย้ำไม่ถอนหุ้นออกจากตลาดฯ แม้จะมีฟรีโฟลทต่ำกว่าเกณฑ์อยู่ที่ 3% เผยอยู่ระหว่างหาวิธีแก้ไข อ้างรอข้อสรุปจากผู้ถือหุ้น แจงไม่ปิดกั้นการลงทุนทั้งในและต่างประเทศชี้รอจังหวะเหมาะสม
(ASTVผู้จัดการรายวัน 25 สิงหาคม 2552)
เทมาเส็กเตรียมโกย3หมื่นล้านเสนอซื้อคืนอาจต้องกำเงินแสนล้าน
นักวิเคราะห์ชี้ซื้อชินคอร์ปอยู่ที่ราคา เชื่อเทมาเส็กฯ พร้อมปล่อยหลังจากทิศทางการเมืองเริ่มเปลี่ยน แต่ปัญหาอยู่ที่ใครจะมีเงินมากพอที่จะซื้อหุ้นตัวนี้ได้ เชื่อปีนี้ปันผลไม่ต่ำกว่าปีก่อน คาด 4 ปีโกยกลับสิงคโปร์ 3 หมื่นล้าน
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 ตุลาคม 2552)