Technology Service Provider บริบทใหม่ของสามารถ กรุ๊ป
กว่าครึ่งศตวรรษที่บริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) โลดแล่นอยู่ในธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมมาโดยตลอด ทำให้ธุรกิจที่ผ่านมาตกอยู่ในความ "เสี่ยง" แต่จากนี้ไปสามารถกรุ๊ปกำลังดึงตัวเองไปสู่ธุรกิจเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ธุรกิจใหม่ของกลุ่มสามารถที่เริ่มต้นจากศูนย์ แต่เป็นบริษัทไทยรายแรกที่กระโดดเข้าสู่ตลาดแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
"สามารถฯ หนีห่างอย่างเหนือชั้น สู่ยุคอินเตอร์"
กลุ่มสามารถฯ นำโดยธวัชชัย วิไลลักษณ์ ยอมตัดใจขายหุ้นในสามารถ คอร์ปอเรชั่น
20.12% และบริษัทในเครือฯ อีก 33.33% ให้กับกลุ่มเทเลคอม มาเลเซียฯ เพื่อร่วมพัฒนาธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม
หวังได้ความเชี่ยวชาญจากพันธมิตรเพื่อปูทางก้าวไปสู่การเป็นบริษัทอินเตอร์
ด้านเทเลคอม มาเลเซียฯ หวังศักยภาพบุคลากรด้านมัลลิมีเดียของกลุ่มสามารถฯ สร้างโครงการ
MSC
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
ชาญชัย จารุวัสตร์ ยกเครื่องสามารถเทเลคอม
เมื่อต้นปี 2537 สามารถเทเลคอม สร้างความฮือฮาโดย การเข้าไปถือหุ้นในบริษัท
ยีเอสเอส อาร์เรย์ เทคโนโลยี จำกัด คนในวงการต่างมองว่า เป็นก้าวจังหวะใหม่ของสามารถฯที่จะขยายเข้า
สู่ความเป็นผู้ผลิตที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
“สามารถ”เล็งขยายฐานวางระบบไอทีตปท.
กลุ่มสามารถเตรียมขยายฐานการวางระบบไอทีออกสู่ต่างประเทศ หลังประสบความสำเร็จจากโครงการที่สนามบินสุวรรณภูมิเป็นใบเบิกทาง ขณะเดียวกันก็พร้อมกอดคอกับพาร์ตเนอร์เก่าลุยเฟส 2 และบุกระบบ CUTE ตามสนามบินต่างจังหวัดหัวเมืองหลัก
(ผู้จัดการรายวัน 29 พฤศจิกายน 2549)
เอ็มลิ้งค์ฯ ซื้ออีดีซี สแควร์เพิ่มศักยภาพตัดขาย "พอร์ทัลเน็ต" ให้สามารถเทลคอม
MLINK แจ้งการขายหุ้น พอร์ทัลเน็ท ให้สามารถเทลคอมนั้นจะไม่รวมหุ้นของ อีดีซี สแควร์ โดยจะได้รับชำระ ณ วันที่ทำการซื้อขายเสร็จสิ้น เท่ากับ 637 ล้านบาท บวกด้วยหนี้ที่จะมีเพิ่มเติมในสัญญาซื้อขายจนถึงวันที่ทำการซื้อขายเสร็จสิ้นพร้อมดอกเบี้ย ส่วนหนี้ที่เหลือ 150 ล้านบาท จะชำระภายใน 15 วัน นับจากวันที่พอร์ทัลเน็ทส่งมอบโครงการให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
(ผู้จัดการรายวัน 3 พฤศจิกายน 2549)
SAMTEL ปรับโครงสร้างใหม่ แตก 5 สายดันธุรกิจเติบโตเท่าตัว
สามารถเทลคอม ปรับโครงสร้างใหม่ แบ่งเป็น 5 สายธุรกิจหลัก หวังเป็นผู้นำบริการไอซีทีครบวงจร ตั้งเป้ารายได้ 7 พันล้านบาท ใน 3 ปีหน้า พร้อมแตกธุรกิจใหม่ หลังทุ่มเงินกว่า 770 ล้านบาท ซื้อพอร์ทัลเน็ท โอเอซิส ลุยบริการไอที เอาท์ซอร์ส และไอพี บิสิเนสซึ่งคาดว่าจะทำรายได้ 1 หมื่นล้านบาท ภายใน 5 ปี
(ผู้จัดการรายวัน 19 กันยายน 2549)
ไอ-โมบาย พระเอกตัวจริงฐานพลังกลุ่ม "สามารถ"
ไอ-โมบาย เจิดจรัสเล่นพระเอกตัวจริง ฐานพลังหลักอาณาจักร "สามารถ" พลิกแผนปรับโมเดลธุรกิจ ปรับโครงสร้างองค์กร โฟกัสธุรกิจนี้เป็นพิเศษเหนือธุรกิจหลักตัวอื่น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 20 สิงหาคม 2550)
"วงศ์สวัสดิ์"ถ่ายสมบัติเบ็ดเสร็จ กลุ่มวิไลลักษณ์อาสารับช่วงต่อ
กลุ่ม"วงศ์สวัสดิ์"น้องสาวนายกเตรียมการณ์ล่วงหน้า ถ่ายสมบัติให้กลุ่มสามารถรับช่วงแทน ล่าสุดขายพอร์ทัล เน็ท แค่ 768 ล้านบาท ทั้ง ๆ ที่เตรียมรับทรัพย์อีก 5 ปีข้างหน้า 3,192 ล้านบาท โดยก่อนหน้าชิ่งทั้ง TRAF และ ASCON และงานที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐให้ตระกูลวิไลลักษณ์ถือหุ้นแทน ส่งผลให้บริษัทสื่อสารอย่างสามารถรับงานแม้กระทั่งบริหารขยะในสนามบินสุวรรณภูมิ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 กันยายน 2549)
555 ความสุขไม่รู้จบกับบริการเติมเงินใหม่ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส
บริษัท สามารถเทลคอมจำกัด (มหาชน) และบริษัท สามารถเทลคอมจำกัด (มหาชน) เปิดตัวโครงการ 555 ช่องทางใหม่ในการซื้อหรือเติมเงินบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศ Samart WIP Online เพียงแค่บอกรหัส 555 สามารถใช้บริการซื้อหรือเติมเงินได้ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิสในร้าน 7-11
(เคาน์เตอร์เซอร์วิส, บจก. 29 ตุลาคม 2551)
“สามารถเทลคอม”ร่วมฉลองความสำเร็จ “ดาวเทียมไทยคม 4”
นายธวัชชัย วิไลลักษณ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท สามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) (ที่ 1 จากซ้าย) ร่วมแสดงความยินดีกับ ดร.นงลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ในโอกาสฉลองความสำเร็จในการส่งดาวเทียมไทยคม 4 (ipstar) ณ สถานีดาวเทียมไทยคม
(124 คอมมิวนิเคชั่นส์ 22 สิงหาคม 2548)