Dual Listing
ถึงเวลาที่ UCOM จะหายไปและมี TAC เข้ามาแทนที่ นี่คือการเปลี่ยนแปลงของทั้ง UCOM, DTAC และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในครึ่งปีแรกนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2550)
"ซอมเมอร์ส ยูเค" กองทุนวิกฤติ
ก่อนหน้านี้ไม่มีใครรู้ว่า Sommers UK เป็นใครมาจากไหน มีเพียงการร่ำลือว่าเป็นบริษัทที่บุญชัยและภูษณตั้งขึ้นมา เพื่อเข้ามาซื้อหุ้นในยูคอม เพื่อต้องการรักษาสัดส่วนหุ้นไว้ นอกจากนี้ก็จะรู้แต่เพียงว่าเป็นกองทุนการเงินจดทะเบียนในประเทศอังกฤษที่เข้ามาแปลงหนี้ของยูคอมเป็นทุน และกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่ถือครองหุ้นไว้ 36% มากกว่าตระกูลเบญจรงคกุล ที่ต้องกลายเป็นผู้ถือห้นอันดับ 2
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
Thai Art Museum ในยูคอม
ความสุขของ บุญชัย เบญจรงคกุล ไม่ใช่แค่เป็นเพียงเจ้าของผลงานภาพเขียนชั้นยอด แต่เขายังเป็นเจ้าของศิลปกรรมชิ้นเอกทุกแขนงของศิลปินชั้นครูของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
เสริมเทรนนิ่งด้วยอีเลิร์นนิ่ง
จากข้อมูลการสำรวจล่าสุดของเนคเทคระบุว่า การเติบโตของอินเทอร์เน็ตในปีนี้จะส่งผลให้ความต้องการเชื่อมต่อเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อมโยงผ่านเทคโนโลยีบอร์ดแบนด์ที่กำลังได้รับความนิยมในตลาด เพราะสามารถส่งผ่านข้อมูลได้รวดเร็ว อัตราผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในปี 2547
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2548)
เปิดกลยุทธ์ยูคอม สู้ศึก Broadband
ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ UCOM ผนึก ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และอินเตอร์เน็ต โซลูชั่น แอนด์ เซอร์วิส โพรวายเดอร์ (ISSP) เปิดให้บริการ Broadband ด้วยความเร็ว 24 Mbps พร้อมเปิดเว็บไซต์ www.bblife.in.th รวบรวมคอนเทนต์ออนไลน์ทั้งสาระและบันเทิง ภายใต้สโลแกน “เต็มที่กับชีวิตบรอดแบนด์”
(Positioning Magazine ธันวาคม 2547)
ไฟเขียวถอน UCOM พ้นตลท.
บอร์ดยูคอมเห็นชอบเพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์ฯ หลังดันแทคเข้าจดทะเบียนภายในปีนี้ เผยจะได้รับเงินจากการขายหุ้น 4,199 ล้านบาท หวังนำเงินไปชำระคืนเงินกู้และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ขณะที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ เผยยูคอมฯ เข้าเกณฑ์โฮลดิ้ง คอมปานี ระบุให้เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นใน TAC ไม่ต่ำกว่า 51% โบรกฯ เผยมาร์เกตแคป TAC สูงถึง 7 หมื่นล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 11 ตุลาคม 2549)
ยูบีทีปิดฉากบริการสื่อสารความเร็วสูง
ยูบีทีบริษัทร่วมทุนยูคอมกับทีโอที 1 ใน 4 บริษัทย่อยของยูคอม ที่ตระกูลเบญจรงคกุลเสนอซื้อจากเทเลนอร์ ถึงกาลอวสาน หลังจากที่ส่งหนังสือถึงทีโอที ขอเลิกกิจการและพร้อมโอนลูกค้าจำนวน 2,000 รายให้ทีโอทีให้บริการต่อ ด้าน"ธีรวิทย์" ชี้เป็นเรื่องปกติของธุรกิจ ทีโอทีพร้อมสรุปขั้นตอนการโอนลูกค้าภายในเดือนนี้
(ผู้จัดการรายวัน 15 พฤศจิกายน 2548)
แทคยื่นไฟลิ่งเข้าตลาดหุ้นไทย หลังเข้าเทรดไซส์ใกล้เคียงชินฯ
แทคเดินหน้าเข้าจดทะเบียนตลาดหุ้นไทย ยื่นไฟลิ่ง ก.ล.ต.แล้ว ส่วนการกระจายหุ้นต้องรอทำเทนเดอร์ฯที่สิงคโปร์ก่อนคาดเมื่อเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์จะมีขนาดใกล้เคียงกับหุ้นชินคอร์ปอร์เรชั่นแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ตลท. แขวน SP หุ้น UCOM ต่อ รอบริษัทแจงเทนเดอร์ฯหุ้น TAC ที่สิงคโปร์ ส่วน บิ๊ก UCOM เตรียมประชุมบอร์ด 31 ต.ค.นี้
(ผู้จัดการรายวัน 26 ตุลาคม 2548)
บุญชัยทิ้งยูคอม จังหวะดีที่สุด
19 ตุลาคม 2548 เป็นวันที่สำคัญยิ่งอีกหนึ่งวันสำหรับอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย
เป็นวันที่ตระกูล “เบญจรงคกุล” ผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัทยูคอม (ซึ่งยูคอมคือผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท TAC ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับสอง เจ้าของแบรนด์ DTAC) ขายหุ้นในมือทั้งหมดออกไปให้แก่บมจ.ไทย เทลโค โฮลดิ้งส์ ในมูลค่าทั้งสิ้น 9,200 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วน 39.9%)
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 พฤศจิกายน 2548)
ตัวตนของ "บุญชัย เบญจรงคกุล"
ถึงเวลานี้หลายคนอาจจะยังไม่รู้จักตัวตนที่แท้จริงของผู้ชายชื่อ "บุญชัย เบญจรงคกุล" ผู้ที่ทำให้วงการโทรศัพท์มือถือต้องช็อกไปตามๆ กัน จากการขายหุ้นที่ตระกูลเบญจรงคกุลถือหุ้นอยู่ทั้งหมดในบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น จำกัด(มหาชน) หรือยูคอม ให้กับบริษัท ไทย เทลโค โฮลดิ้งส์ จำกัด ซึ่งถือหุ้นใหญ่ โดย "เทเลนอร์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 ตุลาคม 2548)
"บุญชัย" คิดการใหญ่ BIG BROTHER เครือข่ายชุมชนทั่วไทย
"บุญชัย เบญจรงคกุล" ชื่อนี้กำลังจะถูกจัดขึ้นสู่ทำเนียบ "เจ้าพ่อชุมชนไทย"
เขากำลังเปลี่ยนแปลงสังคมไทยโดยไม่ต้องเล่นการเมือง
ปลุกปั้นเยาวชนสำนึกรักบ้านเกิดขึ้นเป็นผู้นำท้องถิ่น กุมความคิดคนชนบท
เชื่อมโยงสู่เครือข่ายธุรกิจ "เบญจรงคกุล" ในอนาคต
บทพิสูจน์ครั้งสำคัญที่หลายคนมองว่าเขาล้มไม่เป็นท่าในธุรกิจมือถือ
แต่เขากำลังจะกลับมาในฐานะธุรกิจที่มั่งคงจาก "เศรษฐกิจพอเพียง" ต่างหาก
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 ตุลาคม 2548)
ดีแทค เดินหน้าแผน IPO หลังได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้น
บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) รายงานจากที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 ว่าผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้นำหุ้นของดีแทคเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้อนุมัติให้เพิกถอนบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ ยูคอม ออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น, บมจ. 4 พฤษภาคม 2550)
สำนักงาน ก.พ. จับมือยูคอมพัฒนาข้าราชการออนไลน์
สำนักงาน ก.พ. จับมือบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือยูคอม ผู้นำธุรกิจการสื่อสารและโทรคมนาคม ร่วมกันพัฒนาระบบ e-learning เพื่อให้บริการแก่ ข้าราชการทั่วประเทศ
(บริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) 10 พฤษภาคม 2548)