มองว่าดี
หลังการเลือกตั้งเสร็จสิ้นไปเมื่อ 3 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ทำนายเศรษฐกิจไทย ในครึ่งปีหลัง 2554 และปี 2555 ว่ามีแนวโน้มขยายตัวได้ดีกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่เดิม แต่ผู้ประกอบการต้องเตรียมรับมือกับต้นทุนที่สูงขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2554)
Call Center โตตามกระแส Outsourcing
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเชื่อว่าจากแนวโน้มเศรษฐกิจในปีนี้ที่คาดว่าจะชะลอตัวลงอย่างมาก ส่งผลกระทบให้ภาคธุรกิจต้องพยายามพยุงสถานะให้อยู่รอดท่ามกลางวิกฤติที่เกิดขึ้น โดยหลายธุรกิจหันมาปรับลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลงหรือปรับเปลี่ยนกระบวนการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากยิ่งขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2552)
ปีหน้าชะลอตัว
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้รายงานอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไตรมาสที่ 3/2551 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า (Year-on-Year) ชะลอลงจากร้อยละ 5.3 ในไตรมาสที่ 2/2551
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2551)
เงินซื้อความรักปีนี้สะพัด 1,200 ล้านบาท
วันแห่งความรัก ปีนี้ยังคงได้รับความสนใจจากผู้บริโภคคนไทยเชื่นเดิม ในการซ้อหาสินค้าเพื่อแสดงถึงความรักในทุกรูปแบบ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดการณ์ว่า เงินสะพัดในช่วงวันวาเลนไทน์ในปี 2554 เฉพาะในกรุงเทพฯจะสูงถึง 1,120 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.7
(Positioning Magazine 11 กุมภาพันธ์ 2554)
บอร์ดแบนด์ในตลาดเสรี ’49
จากพันธะที่ประเทศไทยต้องเปิดเสรีกิจการโทรคมนาคมในปี 2549 ตามเงื่อนไขการเป็นประเทศสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) ทำให้หลายฝ่ายตื่นตัวเกี่ยวกับสภาวะการแข่งขันทางการตลาด แต่ขณะเดียวกันก็ยังกังวลว่าในทางปฏิบัติจะทำได้อย่างไร ในเมื่อคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.)
(Positioning Magazine กันยายน 2548)
Spa Management School
ในขณะที่นักธุรกิจทั่วไป มีโรงเรียน MBA เป็นแนวทางการเรียนรู้ก่อนเริ่มธุรกิจ ถึงเวลาแล้วหรือยัง ที่ผู้ประกอบการธุรกิจสปาควรจะ “เข้าโรงเรียนสปา” กันอย่างจริงจังเสียที เพื่อการทำธุรกิจอย่างมืออาชีพ หาคำตอบให้กับคำถามที่มีอยู่ และสามารถตั้งคำถามเพื่อสร้างคำตอบใหม่ๆ ให้กับธุรกิจของตน
(Positioning Magazine ธันวาคม 2547)
สินเชื่อ-เงินฝากแบงก์ม.ค.ยังหด
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยรายงานตัวเลขสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชย์ไทย ณ วันที่ 31 มกราคม 2553 มียอดคงค้างสินเชื่อในระบบธนาคารพาณิชย์ไทย เดือนมกราคม 2553 มีจำนวน 5,743,534 ล้านบาท ลดลงจากเดือนที่แล้ว 38,406 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการลดลงร้อยละ 0.66 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อนร้อยละ 0.36 โดยกลุ่มธนาคารขนาดใหญ่ 4 แห่ง สินเชื่อปรับตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้า จำนวน 22,794 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 0.59 นำโดยธนาคารไทยพาณิชย์ กสิกรไทย และกรุงเทพ มีสินเชื่อลดลงจำนวน 19,803 9,755 และ 4,140 ล้านบาท ตามลำดับ ส่วนธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเดียวในกลุ่มที่มีสินเชื่อเพิ่มขึ้น 10,904 ล้านบาท
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 22 กุมภาพันธ์ 2553)
ศูนย์วิจัยกสิกรฯชี้เศรษฐกิจฟื้นเชื่อปี53โต3.5%
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย แจงตัวเลขส่งออก-ลงทุนอุตสาหกรรมไทยเดือนธ.ค.52สะท้อนภาพการฟื้นตัวเศรษฐกิจไทยแข็งแกร่งเกินคาด คาดอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยปี53ไต่รนะดับสูงกว่า 3.5% หลังตัวเลขการขยายตัวเดือนสุดท้ายของปี52 สูงกว่าตัวเลขคาดการณ์ที่2.3% นับเป็นการขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส
(ASTVผู้จัดการรายวัน 1 กุมภาพันธ์ 2553)
สัญญาณดอกเบี้ยเริ่มขยับ ฉุดธุรกิจประกันชะลอตัว
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย รายงานอัตราการเติบโตของธุรกิจประกันชีวิตช่วง 5 เดือนแรกของปี 2553 ชะลอตัวลง 14.9% จากช่วงเดียวกันปีก่อน เทียบกับในช่วง 4 เดือนแรกที่เติบโต 17.1% จากปีที่แล้ว โดยเป็นผลจากการหดตัวของธุรกิจใหม่ในเดือน พ.ค. จากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองมากกว่าที่คาด ขณะที่แนวโน้มผลประกอบการในเดือน มิ.ย. 2553 คาดว่าจะกลับมาขยายตัวด้วยเลขสองหลักอีกครั้ง
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 สิงหาคม 2553)
ยอดใช้บัตรเครดิตส่งสัญญาณหดตัว
ในช่วงเริ่มต้นปี 2553 ดูเหมือนว่าธุรกิจบัตรเครดิตเริ่มกลับมาคึกคักอีกครั้ง ตามทิศทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นเป็นลำดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจที่สำคัญ อาทิ การฟื้นตัวของภาคส่งออก และการกลับมาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ เป็นต้น จากการที่ภาคเอกชนมีความเชื่อมั่นต่อนโยบายภาครัฐและทิศทางเศรษฐกิจ ต่างเริ่มดำเนินแผนการลงทุนโครงการธุรกิจใหม่มากขึ้น
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 31 พฤษภาคม 2553)
เงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้น กดดันการบริโภคในปี2553
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมกราคม 2553 เร่งตัวขึ้นมาที่ 4.1% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แม้ส่วนหนึ่งเป็นผลของฐานเปรียบเทียบที่ต่ำในปี 2552 แต่เมื่อมองไปข้างหน้า แนวโน้มค่าครองชีพมีโอกาสที่จะปรับสูงขึ้นตามทิศทางราคาน้ำมันและราคาพืชผลทางการเกษตรที่อาจจะปรับตัวสูงขึ้นในอนาคต ขณะเดียวกัน รายได้ของภาคครัวเรือน ที่พิจารณาจากอัตราการปรับขึ้นเงินเดือนในปี 2553 ที่ปรับผลของเงินเฟ้อแล้ว อาจเป็นระดับที่ต่ำกว่าในปี 2552 ที่เงินเฟ้อมีอัตราติดลบ ทิศทางดังกล่าวบ่งชี้ว่าภาวะการบริโภคในปี 2553 ยังคงอยู่ภายใต้แรงกดดันจากอำนาจซื้อของผู้บริโภคที่อาจยังไม่ปรับตัวดีขึ้นมากนัก
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 กุมภาพันธ์ 2553)