เมื่อรายได้หลักอยู่ที่ non-voice
ความพยายามที่จะเร่งสร้างรายได้จากตลาด non-voice ของค่ายโทรศัพท์มือถือ ด้วยการผนึกกำลังกับบริษัทผู้ผลิตสื่อบันเทิง ยังดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและกลายเป็นกลไกที่ขับเคลื่อนให้ธุรกิจทั้งสองเหลื่อมซ้อนกันมากขึ้น พร้อมกับช่องทางการขายใหม่ๆ ที่เน้นสู่การขายตรงมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
เสียงเพลงจากมือถือ
ผลพวงจากการแข่งขัน บวกกับวิวัฒนาการของ โทรศัพท์มือถือที่ไม่ได้เป็นแค่อุปกรณ์สื่อสาร
แต่สามารถใช้เป็นวิทยุที่ส่งเสียงเพลง เพียงแต่คุณภาพ
อาจต้องขึ้นอยู่กับตัวเครื่องลูกข่ายเป็นสำคัญ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)
ดิจิตอล เอ็นเตอร์เทนเมนท์
อัตราเติบโตของโทรศัพท์มือถือ
ทำให้ค่ายเพลงแห่งนี้ไม่รีรอ
ที่จะกาวเข้าสู่โลกของอินเทอร์เน็ตไร้สาย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
รับสายขายเพลง
ไม่ต้องแปลกใจถ้าโทรไปใช้บริการจากคอลเซ็นเตอร์ของโอปะเรเตอร์มือถือแล้วจะได้ยินเสียงพนักงานรับสายร้องเพลงให้ฟัง แถมยังพูดคุยสนุกสนานไม่ต่างจากดีเจบนคลื่นวิทยุ เพราะนี่คือบริการจากพนักงาน Call Center ของเอไอเอสที่ให้กับลูกค้าที่โทรมาขอใช้บริการโหลดเพลงรอสาย
(Positioning Magazine สิงหาคม 2551)
ถนนสายดนตรีสไตล์ Hutch
ก่อนหน้านี้ประมาณ 1 เดือนกว่าๆ หลายคนอาจสงสัยป้ายโฆษณารูปกีตาร์ดนตรี สองข้างถนนสายหลักกลางกรุงเทพฯ โดยเฉพาะย่านสถาบันการศึกษา ช้อปปิ้ง และแหล่งชุมชนของคนรุ่นใหม่นั้น Hutch ต้องการสื่อถึงอะไร
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2548)
เสิร์ชเพลงโดนใจง่ายๆ …แค่ปลายนิ้ว
สร้างสีสันอีกครั้งเมื่อค่ายเพลงยักษ์ “จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่” โดยบริษัทจีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน จำกัด หรือ GMMD ลุกขึ้นมาจับมือโอเปอเรเตอร์เบอร์หนึ่ง “เอไอเอส” เปิดบริการเสริมรูปแบบใหม่ “MUSIC HUNT *123” ณ ห้องออดิทอเรียมบนชั้น 21 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่เพลส เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่เอาใจวัยมันส์ ด้วยบริการค้นหาซื่อเพลงและศิลปินแบบง่ายๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2548)
BECiปรับการตลาดร่วมDFลุยคอนเทนต์
BECi จับมือ AE&C ของ ปราโมทย์ โชคศิริกุลชัย ตั้งบริษัท Digital Factory
ทำหน้าที่รวบรวมคอนเทนต์ พัฒนา แอปพลิเคชั่น ขายส่งในรูปบัตรพรีเพด เจาะตลาดองค์กร
หวังยอดขายเดือนละ 1 แสนใบ อนาคตพัฒนาไปสู่ไดเร็กต์มาร์เกตติ้งและเอ็มคอมเมิร์ซ
(ผู้จัดการรายวัน 20 มิถุนายน 2546)
ธุรกิจดาวน์โหลดมือถือเฟื่อง ค่ายยักษ์ทุ่มปั่นคอนเทนต์ขาย
ธุรกิจบริการเสริมบนมือถือเฟื่องสุดขีดตามยอดผู้ใช้จำนวนมากซึมซับพฤติกรรมดาวน์โหลดโลโก้
ริงโทน ผันตามเทคโนโลยีที่กำลังเปลี่ยนสู่ความหลากหลายมากขึ้นในปี 46 ค่ายยักษ์ใหญ่
เอ็มเว็บ ชินนี่ อีโอทูเดย์ สยามทูยู ประกาศพร้อมปั่นคอนเทนต์ แข่งโกยยอดในบริการรูปใหม่ๆ
(ผู้จัดการรายวัน 27 มกราคม 2546)
ถึงกาลอวสาน "ริงโทน" มือถือจุดเปลี่ยนดิจิตอลคอนเทนต์"
*ดิจิตอล คอนเทนต์มือถือถึงจุดเปลี่ยน ผู้ให้บริการปรับตัวผ่าทางตัน
*หมดอายุ "ริงโทน" ผู้บริโภคแห่รับเทรนด์ใหม่ เอ็มพี3
*ราคา ปัจจัยลบ กระตุ้นผู้ใช้ดาวน์โหลดเองแทนซื้อเพลงมีลิขสิทธิ์
*สามารถฯ ปรับบิสซิเนสโมเดลธุรกิจ "โมบาย มัลติมีเดีย" ก้าวสู่ คอนเทนต์ อินดิเกเตอร์ รับตลาดเปลี่ยน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 31 กรกฎาคม 2549)
ตลาดเพลงดิจิตอลบูม “เอไอเอส” ผนึก “มิวสิค วัน”
คลังเพลงดิจิตอลรายใหญ่บนโลกออนไลน์ ที่เกิดจากการรวมตัวของค่ายเพลงสากลระดับโลก ปิดบริการโหลดเพลงบุฟเฟ่ท์สุดคุ้ม “มิวสิค วัน *248” เพียงเดือนละ 29 บาท พิเศษ! สำหรับผู้สมัครใช้บริการนี้ ลุ้นรับรางวัลแพ็คเกจทัวร์ประเทศอังกฤษ ตั้งแต่วันนี้ – 31 มี.ค. 54
(แอดวานซ์ อินโฟร์เซอร์วิส, บมจ. 21 มกราคม 2554)