น้ำผลไม้จากแดนไกล
น้ำทับทิมสีสวยกลิ่นหอมจัด และน้ำบิลเบอรี่ สีม่วงเข้ม ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากกิฟฟารีนที่มีต้นกำเนิดจากแดนไกล
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
Food for Health H&C
จากเสวนามุมกาแฟร้านนายอินทร์กลายเป็นร้าน H&C ในคอนเซ็ปต์ Food for Health Book for Brains ในปี 2544 Health&Cuisine นิตยสารในเครืออมรินทร์ได้เปิดตัวขึ้นเพื่อนำเสนออาหารเพื่อสุขภาพที่ปรุงง่าย และมีรสชาติอร่อยพร้อมๆ กับการเปิด H&C Cooking Class สอดคล้องกับ lifestyle คนรุ่นใหม่ที่สนใจสุขภาพ ซึ่งมาแรงในช่วงเวลานี้เป็นอย่างดี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2547)
F_ _k The Diet
ท่ามกลางกระแสเชียร์ให้ลดน้ำหนัก แต่ “ยูนิลีเวอร์” มาแนวใหม่เชียร์ให้ลูกค้าบริโภคกันให้มากที่สุดเท่าที่อยากจะกินได้ กับผลิตภัณฑ์กลุ่มอาหารแคลอรี่ต่ำ แบรนด์ Du Draft ในเยอรมนี โดยมีสโลแกนว่า Fuck the Diet ตบท้าย แต่ในเฟซบุ๊กเพจไม่ได้มีคำเต็ม มีแค่ F*** the Diet เท่านั้น
(Positioning Magazine 25 พฤษภาคม 2555)
แบรนด์รังนก ความลังเลคือจุดขาย
มีคำพูดที่ว่า ของทุกอย่างในโลกนี้สามารถทำเลียนแบบได้ จึงเกิดของปลอมระบาดในทุกธุรกิจ เช่นเดียวกับเครื่องดื่มรังนก ที่ถือว่าเป็นสินค้าระดับบน ก็มีสินค้าเลียนแบบรังนกออกมาเป็นระยะ และผู้บริโภคก็เริ่มมีความลังเลใจว่า รังนกที่ดื่ม หรือซื้อหาทุกวันนี้เป็นของจริงหรือของปลอม
(Positioning Magazine 10 มิถุนายน 2554)
นิวทริไลท์ ทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
เคยออกโฆษณาชุดแรกเมื่อปีที่แล้วมาแล้ว แต่ครั้งนั้นแอมเวย์ก็ยังไม่สามารถทำให้ “นิวทริไลท์ ดับเบิ้ล เอ็กซ์” ประสบความสำเร็จในแง่การสื่อสาร แม้หนังโฆษณาสวย ครบสูตรสไตล์อินเตอร์ก็ตาม แต่เมื่อเข้าใจยาก สร้างการรับรู้ไม่ได้ก็เปล่าประโยชน์
(Positioning Magazine 8 เมษายน 2554)
บริ๊งค์ชี้ปีหน้าอาหารเสริมโต20%
มีแผนออกสินค้าใหม่ในกลุ่มผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดเม็ดภายใต้ชื่อ “บริ๊งค์ ดับเบิ้ล ไวท์” วางจำหน่ายร้านบริ๊งค์ ช้อป ทั้ง 9 สาขา และบริ๊งค์คอลล์เซ็นเตอร์ ซึ่งในอนาคตมีแผนขยายช่องทางขายไปยังร้านขายยาประเภทโมเดิร์นเทรด
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 24 ธันวาคม 2552)
ภัตตาคารออร์แกนิก กว่าจะรุ่งต้องรออีกนาน
ภัตตาคารอาหารแบบออร์แกนิก เป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่ผุดขึ้นมาเรื่อยๆ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา แต่ไม่ใช่ว่าทุกรายของผู้ประกอบการจะประสบความสำเร็จเหมือนกันหมด ดังนั้น กลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสม และความสามารถในการรอคอยจังหวะในระยะยาวได้มีส่วนอย่างมากในการนำกิจการสู่ความสำเร็จหรือล้มเหลว
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 ตุลาคม 2553)
ไขกลยุทธ์ “อาหารเสริม” เกมรุกตลาดแนวใหม่
ในโลกของธุรกิจอาหารเสริมยุทธศาสตร์ทางการตลาดถูก พัฒนามาจากยอดขาย การเจาะตลาดและการครองตลาดพร้อมกับสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์จนเป็นที่ยอม รับ ยุทธศาสตร์เหล่านี้จะก่อกำเนิดขึ้นในจิตใจก่อน แล้วจึงถ่ายทอดออกมาเป็นรูปธรรม กลายเป็นแบบแผนเชิงปฏิบัติที่มีการบันทึกอย่างชัดเจน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 มีนาคม 2553)
แบรนด์ซุปไก่ ย้ำภาพผู้นำ กลยุทธ์กวดวิชาแบรนดิ้ง
เซเรบอส ตอกย้ำภาพลักษณ์ผู้นำที่เป็นผู้บุกเบิกจัดกิจกรรมโครงการกวดวิชาเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัยรายแรก ชูจุดแข็งที่แตกต่างจากคอร์สกวดวิชาที่ค่ายสินค้าเริ่มให้ความสำคัญนำมาเป็นเครื่องมือการตลาดในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าวัยเรียน ด้วยวิชาสอน และรวมสุดยอดทีมอาจารย์ชื่อดัง
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 มกราคม 2553)