ธนชาตจัดเต็ม
การรวมกิจการระหว่างธนาคารธนชาตและธนาคารนครหลวงไทยเสร็จสมบูรณ์เมื่อต้นเดือนตุลาคม 2554 หลังจากใช้เวลาเกือบ 2 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2554)
ธนาคารธนชาตในมิติใหม่ “เราจะแข่งกับใครก็ได้ในประเทศนี้”
อาจจะเร็วเกินไป หากจะบอกว่าธนาครธนชาตมุ่งหมายจะเป็นหนึ่งในผู้นำธนาคารพาณิชย์ แต่ก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าเป็นสถาบันการเงินน้องใหม่ที่ทะยานจากธนาคารขนาดเล็กกลายไปเป็นแบงก์ขนาดใหญ่ เป็นเรื่องน่าจับตามองไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2554)
อยากจะเป็น Big Player
ความเคลื่อนไหวของธนชาตเริ่มน่าจับตามองมากขึ้นหลังจากเข้าซื้อกิจการธนาคารนครหลวงไทย ลุล่วงไปเมื่อต้นปีผ่านมา โดยเฉพาะกิจกรรมด้านการตลาดได้เปิดฉากแนวรุกมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2553)
สี+สัญลักษณ์ สร้าง Brand Identity
เมื่อต้องสร้าง brand ให้เป็นที่จดจำกับลูกค้าในระดับ mass การเลือกใช้สัญลักษณ์ “สี” และ “โลโก้” เป็นเรื่องที่แบงก์หันมาให้ความสำคัญ โดย สี และสัญลักษณ์ของโลโก้ที่แต่ละแบงก์นำมาใช้ ล้วนแต่มีที่มา และความหมายที่บ่งบอกถึง
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
ธนชาต แบรนดิ้ง ชิงความต่าง
สำหรับแบงก์ไทย “ธนชาต” นับเป็นอีกรายหนึ่ง ที่ปรับภาพลักษณ์ใหม่เพื่อสร้างความแตกต่างของแบรนด์ ซึ่งเป็นนัยสะท้อนการปรับตัวกันถ้วนหน้าทั้งรายใหญ่ รายเล็ก เพื่อรับการแข่งขันของธุรกิจแบงก์ที่ทวีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
TBANKเร่งแผนควบรวมสคิบ ส่งทีมเดินสายชี้แจงสาขาตจว.
ธนชาตเร่งแผนควบรวมสคิบ สั่งศึกษาจุดแข็งแต่ละแห่ง สรุปแนวนโยบายเสนอแบงก์ชาติสิ้นปีนี้ คาดขั้นตอนเทนเดอร์ฯเสร็จสิ้นมิ.ย.พร้อมรวมผลประกอบการเข้างบฯได้ทันที ส่งทีมชี้แจงสาขาตจว. ยันหลังควบรวมอาจไม่ต้องโละพนักงานมากนัก เหตุสายงานไม่ซ้ำซ้อน
(ASTVผู้จัดการรายวัน 25 มิถุนายน 2553)
ธนชาตจ่าย6.8 หมื่นล.ฮุบสคิบ
ธนชาตทุ่ม 68,000 ล้านบาทซื้อหุ้นนครหลวงไทย จ่ายให้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 3.2 หมื่นล้าน ในราคา 32.50 บาทต่อหุ้น จำนวน 1,005,330,950 หุ้น "ทองอุไร"ฟุ้งฟันกำไร 20,000 ล้าน “บันเทิง” ระบุเตรียมซื้อคืนจากนักลงทุนรายย่อยราคาเดียวกัน ใช้เงินอีกประมาณ 36,000 ล้านบาท พร้อมควบรวม 2 ธนาคาร ลบชื่อนครหลวงไทยออกจากสาระบบ เหลือธนาคารธนชาตรายเดียว ยันลูกค้าไม่กระทบ คาดการควบรวมจะเสร็จสิ้นในปี 54 ด้านบิ๊กสคิบรอผู้ถือหุ้นใหม่ปรับแผนธุรกิจ
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 12 มีนาคม 2553)
เงินด่วน-บัตรเครดิตร้อนระอุ หน้าใหม่-เก่ารุกหนักรับไฮซีซันส์
ใกล้เวลาปลายปีซึ่งเป็นช่วงไฮซีซันส์ของการใช้จ่ายทั้งกิน-เที่ยว-ช็อป จึงเป็นที่รู้กันว่าจะเป็นฤดูกาลที่บัตรเครดิตทุกค่ายจะออมแคมเปญในรูปแบบต่างๆ เพื่อตักตวงยอดใช้จ่ายในช่วงนี้ โดยมีผู้เล่นหน้าใหม่ คือ ธนชาต กับทีเอ็มบี ผู้เล่นหน้าเก่าที่รีแบรนด์ตัวเองใหม่จนหมดจดเข้ามาขอท้าชิงตลาดในปีนี้ด้วย
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 ตุลาคม 2553)
"ธนชาต"จุดชนวน"ไฟท์ติ้งแบงก์"เปิดสงครามบัญชีเงินฝากออมทรัพย์
"ธนาคารธนชาต" แบงก์สีส้มที่มีต้นกำเนิดมาจาก "ไฟแนนซ์" กลายเป็นเพียงไม่กี่แบงก์ที่เร่งอัตราการขยายตัวมาจากฐานธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ที่ตนเองถนัด แต่ที่จะแตกต่างไปจากแบงก์ขนาดกลางอื่นๆก็คือ ภาพลักษณ์การเป็น "ไฟท์ติ้งแบงก์" โดยเฉพาะการเพิ่มความถี่จากการขยายฐานลูกค้าเงินฝาก ซึ่งจูงใจด้วยดอกเบี้ยในระดับสูงลิ่ว ชนิดที่แม้แต่แบงก์ใหญ่รุ่นพี่ก็ยังทำได้แค่เหลือบตามองด้วยความประหลาดใจ....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 ตุลาคม 2549)
ผ่อน"รถใหม่ป้ายแดง"เตรียมควักกระเป๋าเพิ่มธุรกิจเช่าซื้อซุ่มขยับดอกเบี้ยผลักภาระต้นทุน
อยากเป็นเจ้าของรถใหม่ป้ายแดงวิ่งโฉบเฉี่ยวบนท้องถนน ในชั่วโมงนี้อาจต้องคิดหนัก เมื่อสถานการณ์เงินเฟ้อยังผลักให้ทิศทางดอกเบี้ยขยับขึ้นแบบยังไม่มีจุดจบ ไม่แพ้กู้เงินซื้อบ้านที่ดอกเบี้ยไต่ระดับอย่างรวดเร็ว และถ้าสังเกตุก็จะพบว่าธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์แทบทุกค่ายต่างก็ซุ่มทยอยปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยรถใหม่ เพื่อลดแรงกดดันด้านต้นทุนกันถ้วนหน้า
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)