โลกาภิวัตน์รุกธุรกิจโรงพยาบาล
ชาวอเมริกันกำลังรู้สึกว่า ไยจึงต้องทนกับโรงพยาบาลในประเทศที่ค่ารักษาแสนแพง แถมคุณภาพก็ "งั้นๆ" ในเมื่อสามารถไปรับการรักษาที่ดีกว่าในเอเชียและที่อื่นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2551)
วิสาหกิจที่กระชับ
ประสบการณ์ของคนเข้าโรงพยาบาลส่วนใหญ่ที่ใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 5-6 ชั่วโมง เพื่อรอตรวจรักษาเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยง เป็นเพราะว่าระบบการจัดการที่ใช้เวลายาวนานของแต่ละแผนก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2551)
รศ.นพ.สุเมธ พีรวุฒิ คนกรุงเทพฯ แต่หัวใจอยู่ใต้
หมอสุเมธตั้งใจไว้ว่า เขาจะไปเป็นหมอชนบทที่ภาคอีสาน และตั้งหลักปักฐานอยู่ที่นั่น แต่ชีวิตกับพลิกผันมาเป็นหมออยู่ภาคใต้ นพ.สุเมธ พีรวุฒิ วัย 58 ปี ปัจจุบันมีตำแหน่งเป็นคณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นนักบริหารที่มีรางวัลนักบริหารโรงพยาบาลยอดเยี่ยมระดับโรงพยาบาลตติยภูมิ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
จุดเริ่มต้น รพ.กับความงาม
ไม่ว่าโรงพยาบาลไหนก็ล้วนมีศูนย์ความงาม เพื่อรองรับกลุ่มคนไข้ที่อาจต้องการปรึกษาแพทย์ในเรื่องนี้โดยเฉพาะ ทั้งลงทุนจัดตั้งศูนย์ความงามขึ้นมาเอง หรือเปิดพื้นที่ให้กับคลินิกภายนอกเข้ามาดำเนินการและรับผิดชอบในส่วนนี้แทน
(Positioning Magazine มกราคม 2554)
สวยใสในโรงพยาบาล Niche แบบมีเป้าหมาย
ท่ามกลางคลินิกความงามที่แบรนด์และจำนวนสาขาเริ่มเข้ายึดพื้นที่ชุมชนสำคัญๆ รวมทั้งครองพื้นที่เกือบหนึ่งชั้นในห้างสรรพสินค้า ยังมีช่องว่างทางการตลาดเหลือพอให้กับการรักษาผิวหนังและดูแลความงามของโรงพยาบาล โดยเฉพาะสถานรักษาพยาบาลที่มีขนาดกลางขึ้นไป ซึ่งตอนนี้ต่างยกระดับจากแค่แผนกหนึ่ง ตั้งศูนย์ความงามเพิ่มเติมขึ้นมา
(Positioning Magazine มกราคม 2554)
คลีนิกข์สาขาโรงพยาบาล
ใช่แต่ห้างสรรพสินค้าเท่านั้นที่มีเคาน์เตอร์เครื่องสำอาง แต่เวลานี้ “โรงพยาบาล” ก็กลายเป็นสาขาของเครื่องสำอางแบรนด์เนมกันแล้ว เพราะต่างมีความเชื่อตรงกันว่า ผู้บริโภคที่ก้าวเข้ามารับบริการยังโรงพยาบาลเหล่านี้คือกลุ่มกำลังซื้อชั้นดี
(Positioning Magazine สิงหาคม 2553)
เฟรเกนท์ดึงแบงก์-รพ.โรดโชว์นอก
“เฟรเกนท์” ทุ่ม 10 ล้านควงพันธมิตรโรงพยาบาล แบงก์ บริษัทเอกชนโรดโชว์ 10 ประเทศแถบเอเชีย ประเดิมประเทศพม่า ระบุปี 53คอนโดฯปรับราคาขึ้น 5-10% ตามต้นทุน แถมดอกเบี้ยปรับขึ้นแน่หวั่นกระทบโครงการระดับกลาง-ล่าง
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 9 ธันวาคม 2552)
KHยันปีนี้เติบโตต่อเนื่องระดับ10-15% เหตุผู้ป่วยเพิ่มเน้นลดต้นทุนฟุ้งQ3เจ๋ง
บางกอก เชน ฮอสปิทอล ยันปีนี้รายได้โตระดับ 10-15% จากปี51 ที่ทำไว้ 4,200 ล้านบาท มั่นใจผลงานครึ่งปีหลังดี ชี้ไตรมาส 3 พีคสุด เหตุเข้าสู่หน้าหนาวโรคภัยระบาดอีกทั้งผลดีจากการบริหารต้นทุนให้ต่ำรวมทั้งผู้ป่วยเพิ่มสูง เบรกแผนสร้างโรงพยาบาลที่พัทยาหลังเศรษฐกิจชะลอ เดินหน้าผุดแห่งใหม่บนถนนแจ้งวัฒนะ ใช้งบ 1,400 ล้านบาท คาดเปิดบริการช้าสุดปี 55 เผยการเข้าลงทุน
(ASTVผู้จัดการรายวัน 21 กันยายน 2552)
BGHพับแผนลงทุนตะวันออกกลาง มั่นใจปีนี้กวาดรายได้2.2หมื่นล้าน.
กรุงเทพดุสิตเวชการ พับแผนลงทุนในตะวันออกกลางเหตุพันธมิตรร่วมทุนไม่พร้อม รอเศรษฐกิจฟื้นเพื่อมาเจรจาอีกครั้ง ขณะที่หั่นงบลงทุนเหลือ 1 พันล้านบาท จากปีก่อนที่ใช้ถึง 2 พันล้านบาท หลังวิกฤตเศรษฐกิจทำพิษกระทบรายได้บางสาขาหด ตั้งเป้ารายได้ปีนี้โต 10% หรือที่ 2.2 หมื่นล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 11 มีนาคม 2552)
“ศิริราช”เอฟเฟกต์ รพ.ไทยปรับตัวดัน “เฮลท์ฮับ”
ศิริราชโมเดลจุดกระแสการเปลี่ยนแปลง รพ.ไทย เซียนชี้ รพ.รัฐจ้องเดินตาม-รพ.เอกชนต้องควบรวมสู้ เป้าใหญ่ไม่ใช่แค่แข่งในประเทศแต่มุ่งรับศึกต่างชาติ ดันไทยพร้อมเออีซีสู่การเป็น “เฮลท์ฮับ” ของภูมิภาค
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 กุมภาพันธ์ 2555)
BNH ยกเครื่องใหม่พร้อมรับ AEC
ปีนี้ BNH มีอายุครบ 114 ปี จึงรีโนเวตโรงพยาบาลใหม่ทั้งภายในและภายนอก โดยใช้เวลาประมาณ 2 ปี ขณะนี้ทำมาได้ 1 ปีแล้ว นอกจากนี้ ปีนี้เรื่องของงานบริการก็จะมีการปรับเปลี่ยนซึ่งเซอร์วิสของ BNH จะต้องเหนือกว่าคนอื่นๆ โดยใช้งบในการปรับปรุงพื้นที่ 250-300 ล้านบาท งบในการลงทุนเครื่องมือ 200 ล้านบาท
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 กุมภาพันธ์ 2555)
2 รพ.ขนาดกลาง ปรับตัวรับศึกควบรวม
“โรงพยาบาลนครธน” ที่วันนี้ไม่สนเรื่องการควบรวมแต่หันมาพัฒนา “จิตใจ-การทำงาน” ของพนักงานให้ดีขึ้นดีกว่า หรือแม้แต่ “โรงพยาบาลวิภาวดี” ซึ่งชำนาญการควบรวมโรงพยาบาลขนาดเล็กและกลางก็มิได้นิ่งดูดายกับเหตุการณ์ กลับมุ่งพัฒนาตัวเองให้ “One Stop Service” เพื่อสร้างความแตกต่าง
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 เมษายน 2554)
"CHAOPHYA MUSIC IN THE PARK 8"
โรงพยาบาลเจ้าพระยาร่วมกับผลิตภัณฑ์ยูเซอรีนขอมอบความสุขส่งท้ายปีให้แก่ทุกท่าน ร่วมสัมผัสสายลมแห่งฤดูหนาวกับงานมินิคอนเสิร์ตบทเพลงอันไพเราะในเทศกาล CHAOPHYA MUSIC IN THE PARK 8
(Synergy-E 27 พฤศจิกายน 2556)