โกยเงินจากศิลปะไม้อัดเปลือกไข่
เมื่อ 13 ปีที่แล้ว Eric Chapeau ตัดสินใจครั้งสำคัญในชีวิตและดูเหมือนทางเดินเส้นนี้ไม่น่ามีอนาคตสดใสรองรับด้วยซ้ำ แต่เขามุ่งมั่นและแน่วแน่มากเมื่อหันมาทุ่มเทให้กับงานผลิตไม้อัดเปลือกไข่ที่นอกจากเป็นงานทำมือและใช้แรงงานสูงแล้ว ยังต้องใช้ความอุตสาหะอย่างยิ่งยวดในการสร้างสรรค์แต่ละชิ้นงานขึ้นมา จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่สตูดิโอของเขาจะสั่งซื้อไข่ 54,000 ฟองในคราวเดียวกัน!
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2555)
Thomas Heatherwick นักออกแบบกระถางคบเพลิงโอลิมปิก'12
พิธีเปิดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกทุกครั้ง สิ่งที่เป็นความลับสุดยอดและทุกคนเฝ้ารอ เห็นจะเป็นพิธีจุดกระถางคบเพลิง ซึ่งผู้ชมทั่วโลกตื่นเต้นอยากเห็นแนวคิดและงานออกแบบที่จะปรากฏต่อสายตา ณ วินาทีนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2555)
NTHC ต้นแบบการค้าขายกับจีนที่ (น่าจะ)...แฟร์ที่สุด
“NTHC ทำหน้าที่รับประกันให้กับทั้งผู้ซื้อว่าจะได้สินค้าตามที่สั่งแน่นอนและผู้ขายว่าต้องได้เงินถึงมือด้วยเช่นกัน ขจัดปัญหาการถูกโกงที่เคยเกิดขึ้นในกระบวนการค้าขายระหว่างไทย-จีน หลายครั้งที่ผ่านมาด้วย”
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2554)
Brands of Japan @ ION Orchard
นับแต่กลางปีที่แล้ว “ION” คือชื่อใหม่ที่ดึงดูดความสนใจจากผู้คนที่สัญจรผ่านไปมาบนถนน Orchard ได้มากที่สุด ตั้งแต่คอนเซ็ปต์การออกแบบ Premier Shopping Strip ที่มี Flagship ของแบรนด์ระดับโลกมากถึง 15 ร้าน เช่น Louis Vuitton, Cartier, Dior, Dolce & Gabbana, Giorgio Armani, Prada เป็นต้น และยังโดดเด่นด้วย Media Membrane ความยาว 117 m ซึ่งห่อหุ้ม Complex รองรับงานประชาสัมพันธ์สำหรับอีเวนต์ใหญ่ๆ ได้ตลอดปี
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
ติดสปีดให้สินค้าด้วยดีไซน์
“ทุกวันนี้มีสินค้ามากมายที่มีคุณภาพแต่ไม่ประสบความสำเร็จ เพราะไม่ใส่ใจในดีไซน์และการสื่อสารที่เข้าถึงความต้องการของผู้บริโภค” ชยุตม์ อัศรัสกร กรรมการผู้จัดการ MZD Bangkok บอกถึงที่มาของการ ผู้ร่วมทุนกับ Massimo Zucchi นักออกแบบชื่อดังชาวอิตาลี ในการเปิดบริษัท Massimo Zucchi Design Bangkok
(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
Decotti
ส่วนผสมอันกลมกลืนระหว่างของหวาน Fashion และ Kawaii* Accessories ถูกตกแต่งออกมาได้อย่่างสมจริงที่สุดภายใต้ชื่อ “Decotti” ซึ่งเป็นเทรนด์ใหม่สำหรับสาวญี่ปุ่นที่กำลังมาแรงในฤดูร้อน 2008
(Positioning Magazine สิงหาคม 2551)
ดีไซน์กลับหลังหัน…สร้างสรรค์นวัตกรรม
สิ่งหนึ่งที่ทวีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆในการสร้างความแตกต่างเป็นเอกลักษณ์ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เป็นอย่างดี นั่นคือรูปลักษณ์ที่โดดเด่นเตะตา ซึ่งมาจากงานสร้างสรรค์เชิงดีไซน์ โดยหลายกิจการได้นำเอาประเด็นดังกล่าว เข้ามาสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน รวมถึงการเสริมพลังแบรนด์ จนกลายเป็นแบรนด์ที่ได้รับการยอมรับระดับโลกไปแล้ว
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 กันยายน 2861)