วิกฤติสายการบิน Low Cost Unbearable & Unready for takeoff
"เหนื่อย..." สีหน้าและแววตาของอุดม ตันติประสงค์ชัย เจ้าของสายการบินต้นทุนต่ำอย่าง One-Two-Go ซึ่งเป็นเครือข่ายของ Orient Thai Airlines (OX) ขณะเอ่ยคำนี้ก็ยังคงความเป็น survivor คนเดิม ที่มียุทธวิธีเอาตัวรอดได้เสมอ ภายใต้แรงกดดันจากปัจจัยลบ เช่น ราคาน้ำมัน jet fuel crisis ที่ทะยานเกิน 50 เหรียญต่อบาร์เรล และค่าเงินดอลลาร์
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
"นกแอร์" ปั้นดารา
นับเป็นครั้งที่ 2 ของการจัดงานแถลงข่าว สายการบิน "นกแอร์" สายการบินประเภท low cost airline แม้ว่ารูปแบบของการจัดงานแถลงข่าวครั้งนี้จะเน้นความเรียบง่าย สถานที่จัดงานก็เป็นห้องจัดเลี้ยงในโรงแรมโฟร์ซีซั่น (รีเจ้นท์ กรุงเทพฯ) ผิดไปจากเมื่อครั้งเปิดตัว "แบรนด์" นกแอร์ ที่ต้องมีคอนเซ็ปต์ตั้งแต่การ์ดเชิญไปจนกระทั่งรูปแบบการจัดงาน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
สวัสดีนกแอร์ so far so good!
แค่งานแนะนำแบรนด์ "นกแอร์" ของสกายเอเชีย ซึ่งเป็น low cost airline ล่าสุดของไทยที่จะเริ่มบินวันที่
1 มิถุนายน 2547 นี้ ก็เป็นที่ฮือฮากับลูกเล่นของพาที สารสิน ซีอีโอหนุ่มที่ทำตัวง่ายๆ
เข้ากับคอนเซ็ปต์งาน ที่สร้างเซอร์ไพรส์เป็นระยะๆ ตั้งแต่ก้าวแรกที่เข้าสยามสมาคมสู่
mystery island
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
Microtrends
กระแส หรือเทรนด์หลายๆ อย่างเริ่มจากการก่อตัวของคลื่นลูกเล็กๆ หรือเรียกว่า “Microtrends”
แล้วจึงค่อยพัฒนาแผ่วงกว้างไปสู่คลื่นขนาดใหญ่
(Positioning Magazine ธันวาคม 2552)
“นกแอร์” ปีกหัก
เพียงแค่ 2 เดือน คือช่วงพฤษภาคม – มิถุนายน 2551 นกแอร์ขาดทุนไปแล้ว 104 ล้านบาท จากพิษน้ำมันที่ราคาพุ่งขึ้นมาแตะเกือบ 150 เหรียญสหรัฐ ลบกำไรและความหวังที่มีมาตลอด 3 ปี ว่า “นกแอร์” จะเป็น Fighting Brand ของการบินไทยรักษาฐานลูกค้าอีกกลุ่มนี้ในตลาดโลว์คอสต์แอร์ไลน์ แต่สภาพวันนี้ไม่ต่างอะไรกับ “นก” ที่ปีกหักไปแล้วข้างหนึ่ง ขณะที่บริษัทแม่อย่างการบินไทยในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ 39% เองก็ยังแทบเอาตัวไม่รอด
(Positioning Magazine สิงหาคม 2551)
เที่ยวบิน 3 บาท
นกแอร์ส่งเสียงจิ๊บ จิ๊บ เป็นภาษาเวียดนามว่า ซินจ่าว ทักทายเส้นทางการบินอินเตอร์ แห่งที่ 2 กรุงเทพ-ฮานอย ด้วยเครื่องบินใหม่ โบอิ้ง 737-800 ความจุ 189 ที่นั่ง (ไม่มีนกพลัส)โดยเปิดบริการทุกวัน วันละ 2 เที่ยวบิน
(Positioning Magazine ธันวาคม 2550)
“นกแอร์-SGA”กอดคอบิน
นกแอร์จับมือเอสจีเอ สยายปีกเส้นทางบินในประเทศ ชูเป็นเบอร์หนึ่งเรื่องเส้นทางบินเหนือคู่แข่งอย่างแอร์เอเชีย เล็งสร้างฮับในทุกภูมิภาคของประเทศ ขณะที่ เอสจีเอ ได้อานิสงส์ขยายช่องทางจำหน่ายให้บริษัท ทิ้งนโยบายเก่าหันจับตลาดแมสมาร์เก็ต ระบุพร้อมร่วมเป็นฝูงบินในทุกเส้นทาง
(ผู้จัดการรายวัน 21 มีนาคม 2550)
นกแอร์เบรกแผนเส้นทางมาเก๊า ตัดหน้าแอร์เอเชียบินสู่บังกาลอร์
นกแอร์ หลบเส้นทางมาเก๊า ชะลอแผนไปเปิดปีหน้า ฉวยเปิดเส้นทางบินใหม่ กรุงเทพ-บังกาลอร์ตัดหน้า คู่แข่งอย่างแอร์เอเชีย เหตุมีดีมานด์สูงกว่า ซีอีโอนกแอร์เผยคนไทยไม่หวั่นไหวเรื่องเศรษฐกิจ หันใช้การเดินทางด้วยเครื่องบินเพิ่มขึ้นมาก ส่งผลไตรมาสแรกผลประกอบการโตแบบก้าวกระโดด ตั้งเป้ารายได้ทั้งปีก็จะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คุยปีก่อนกำไร 44 ล้านบาท พร้อมปรับขึ้นค่าธรรมเนียมน้ำมัน
(ผู้จัดการรายวัน 21 เมษายน 2549)
“โลว์คอสต”ปีฉลู...สู้ยิบตา...งัดสารพัดกลยุทธ์กระตุ้นนักท่องเที่ยว
กลเกมการตลาด “โลว์คอสแอร์ไลน์”ช่วงต้นปีวัวดูจะคึกคักขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อไทยแอร์เอเชีย นกแอร์ และวันทูโก พยายามเปิดศึกช่วงชิงลูกค้าด้วยการสรรหากลยุทธ์ออกมาหวังกระตุ้นให้ตลาดตื่นตัว ซึ่งนับจากนี้เป็นต้นไปภาพการแข่งขันของธุรกิจการบินต้นทุนต่ำน่าจะมีออกมาเป็นระยะอย่างต่อเนื่องไปจนถึงปลายปี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มกราคม 2552)
“ไฮซีซัน”ไทยคึกคัก แอร์ไลน์ไทย-เทศ งัดข้อสุดฤทธิ์
ตั้งแต่ต้นปี2551 เป็นต้นมาตัวเลขการปรับลดเที่ยวบินลงของสายการบินในประเทศเพิ่มขึ้นทุกเดือนโดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำ(โลว์คอสต์แอร์ไลน์)กำลังบ่งบอกถึงทิศทางธุรกิจในอนาคตอาจจะเดินต่อไปค่อนข้างจะลำบาก แม้ว่าจะมีการปรับราคาตั๋วโดยสารเพิ่มขึ้นก็ตาม เชื่อกันว่าขนาดของธุรกิจสายการบินโลว์คอสต์ ไม่น่าจะมีการขยายตัว หรือเกิดสายการบินโลว์คอสต์ใหม่ขึ้นมาอย่างแน่นอน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 กันยายน 2551)
ผ่าแผนธุรกิจแอร์ไลน์…ปฏิบัติการยึดน่านฟ้าในประเทศ
ในที่สุด “ดอนเมือง”ก็เปิดให้บริการอีกครั้ง เส้นทางบินในประเทศกว่าครึ่งถูกย้ายมาอยู่ที่นี่ ขณะที่ธุรกิจการบินต่างเร่งปรับแผนกลยุทธ์
หวังสร้างแบรนด์ไทยให้เกิดขึ้นบนสนามบินแห่งนี้
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 เมษายน 2550)