“โออิชิ” ยึดตู้แช่ ข้ามสายพันธุ์ ข้ามตลาด
ประมาณกันว่าคนไทยทั้งประเทศ 60 ล้านคน เป็นลูกค้า "โออิชิ" มากกว่า 30 ล้านคน เป็นลูกค้าในทุกกลุ่มอายุตั้งแต่เด็ก วัยรุ่น คนหนุ่มสาว ผู้ใหญ่ และเจาะเข้าถึงครอบครัว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2555)
อันดับ 3 ตัน ภาสกรนที
ถ้าวงการเพลงลูกทุ่งให้นิยามภาพลักษณ์ของไมค์ ภิรมย์พร เป็นตัวแทนของกรรมกรผู้ใช้แรงงาน ในวงการธุรกิจ โดยเฉพาะในกลุ่ม SMEs น่าจะมองภาพลักษณ์ของตัน ภาสกรนที ว่าเป็นตัวแทนของผู้ประกอบการที่มีความพยายามฟันฝ่าอุปสรรค เคยล้มลุกคลุกคลาน แต่มาประสบกับความสำเร็จในภายหลัง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2552)
ผมยังเป็นเจ้าของโออิชิ
ถ้าวงจรของการเป็นเจ้าของกิจการ ตัน ภาสกรนที ก็สอบผ่านไปเรียบร้อยแล้ว จากประสบการณ์ทำงานหลากหลาย และขึ้นจุดสูงสุดเมื่อชาเขียวโออิชิกลายเป็นกระแสของสังคมช่วงหนึ่ง จนกลายเป็นปรากฏการณ์ชาเขียวฟีเวอร์
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
ศึกบิ๊กแคมเปญ “หวยชาเขียว” แจกเยอะไม่ว่า ใครดราม่ากว่ากัน
ห้ามกะพริบตา…ศึก “หวยชาเขียว” บิ๊กแคมเปญ ที่ทั้งโออิชิและอิชิตันกำลังขับเคี่ยวกันอย่างเข้มข้น หวังโกยส่วนแบ่งตลาดช่วงหน้าร้อนชนิดใครดีใครอยู่ “ตัน” สวมบทฮีโร่ ใช้ “ดราม่า” เป็นตัวฉุดกระแส ผ่าน “เฟซบุ๊ก” และทีวีซี เรียกเรตติ้งจากคนต่างจังหวัด สารพัดอาชีพ กระชากเรตติ้งไปอยู่ในมืออิชิตัน
(Positioning Magazine 27 มีนาคม 2556)
แจกไว...ได้ไว...ชาเขียวแจกทอง
ปล่อยให้ ตัน ภาสกรนที ปล่อยแคมเปญเด็ด “รวยเปรี้ยง” แจกทอง 60 วัน 60 ล้าน จนกลายเป็นกระแส ในที่สุดโออิชิ ก็ต้องหันมาปล่อยแคมเปญแจกทองออกมาบ้าง เมื่อมาทีหลังแจกเท่ากับคู่แข่งก็คงไม่สวย โออิชิเลยแจกทั้งทอง และรถคู่กัน 2 รางวัล โดยใช้ชื่อแคมเปญว่า “รวยซ้ำ รวยซ้อน” รวมมูลค่า 100 ล้านบาท
(Positioning Magazine 31 ตุลาคม 2555)
น้ำ “พระเอก”ของโออิชิ “นางเอก”ของเสริมสุข (Photo Essay)
ภาพบรรยากาศงานเปิดตัว โออิชิ กรีนที ขวดแก้ว แบบคืนขวด เพื่อเจาะช่องทางร้านอาหาร และร้านตู้แช่ทั่วไป 2 แสนแห่งทั่วประเทศ ชูจุดขายคำว่า “น้ำพระเอก” เพื่อเข้าถึงลูกค้าระดับแมสทั่วประเทศ เลือก 3 พระเอกหนุ่มในสังกัด เอ ศุภชัย "ณเดชน์ หมาก ปริญญ์ และเคน ภูภูมิ" มาเป็นพรีเซ็นเตอร์
(Positioning Magazine 5 ตุลาคม 2555)
“โออิชิ”ปัดขายพ่วงเหล้าร้านค้า
โออิชิยันไม่รู้เรื่อง ข่าวกลยุทธ์ตัดทางคู่แข่ง ดึงร้านค้าขายเหล้าพ่วงชาเขียว อ้างถ้ามีจริงเป็นสิทธิ์ของร้านค้า เดินหน้าตลาดต่อเนื่อง เผยหลังปรับแคมเปญให้เลือกทัวร์หรือทองคำ ยอดขายเพิ่มขึ้น 2 เท่าตัว หวังดันสิ้นปีแชร์เพิ่มเป็น 65% ส่วนอะมิโนพลัสรุกหนักหวังขึ้นผู้นำสิ้นปีนี้ด้วยแชร์ 30%
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 23 พฤษภาคม 2554)
“โออิชิ”ดิ้นลดต้นทุน ทุ่ม300ล.ผุดเพิ่ม30แห่ง
จากเดิมมีอยู่ 113 สาขา โดยเน้นขยายสาขาต่างจังหวัด ซึ่งคาดว่าจะเพิ่มสัดส่วนจาก 10% เป็น 20% เพื่อผลักดันให้ธุรกิจอาหารโตเทียบเท่ากับเครื่องดื่ม 50:50 โดยปีนี้เน้นขยายสาขาชาบูชิ 15 สาขา เพราะเป็นแบรนด์เติบโตสูงที่สุด สร้างรายได้สัดส่วน 40%
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 11 มีนาคม 2554)
“โออิชิที่ไร้ตัน ระวังอย่าทำเสียแบรนด์”
ก้าวต่อไปของโออิชิคือ การเตรียมสร้างความเป็นแบรนด์ระดับโลก (Global Brand) โดยอาศัยช่องทางที่มีประสิทธิภาพของกลุ่มบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) มาช่วยจัดวางระบบ และที่สำคัญต้องเตรียมพร้อมสำหรับการขยายตัวของจำนวนพนักงาน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 ธันวาคม 2553)
เกมรบใหม่ โออิชิ VS อิชิตัน เร่งเพิ่มช่องทางจำหน่ายสินค้า
สงครามชาเขียว ระอุขึ้นอีกครั้ง จากคู่ชิง 2 บิ๊กธุรกิจ โออิชิ กับ อิชิตัน ที่ต่างคนต่างไม่ยอมกัน โดดลงมางัดกลยุทธ์ Distribution Strategy หรือการแข่งขันช่องทางกระจายสินค้า โดยโออิชิ ผนึกไปกับเบียร์ช้าง ขณะที่ อิชิตัน ออกมางัดข้อ ตามเกมนี้ทันที โดยจับมือกับสิงห์ คอร์เปอเรชั่นฯ ให้ช่วยกระจายสินค้าแบรนด์อิชิตัน ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วประเทศ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 กุมภาพันธ์ 2555)
เปิดยุทธศาสตร์ ‘โออิชิ’ สร้างเครือข่าย บุกตลาดโลก
โออิชิ กรุ๊ป ยุคใหม่ โดยมี “นวัตกรรม” และ “การบริหารจัดการองค์กรระดับมืออาชีพ” เป็นยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนสู่เป้าหมายใหม่ที่ใหญ่ขึ้น ไม่เพียงการเป็นบริษัทผู้นำด้านอาหารและเครื่องดื่ม แต่จะปั้นให้ “โออิชิ” เป็นแบรนด์ระดับโลก (Global Brand) โดยตั้งเป้าใน 3 ปี ตลาดส่งออกจะมีสัดส่วน 30% ของรายได้รวมบริษัท
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 กันยายน 2554)