สถาบันไทย-เยอรมัน ถ่ายทอดเทคโนโลยีเยอรมันสู่ไทย
เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 1995 เป็นวันที่มีการเซ็นสัญญาให้มีการก่อตั้งสถาบันไทย-เยอรมันแห่งนี้ขึ้น
และในเดือนกรกฎาคม 1995 ดร.เอิร์นส์ กุนเทอร์ ชิลลิ่ง ผู้อำนวย การฝ่ายเยอรมันเดินทางมาที่นิคมอุตสาหกรรม
บางปะกง 2 "ในตอนนั้นที่นี่ยังไม่มีอะไรเลย การก่อสร้างอาคารต่างๆ เริ่มต้นในเดือนกันยายนของปีเดียวกัน
แต่ก็มาชะงักในเดือนตุลาคม เพราะเหตุเรื่องน้ำท่วม"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2541)
อุตฯแม่พิมพ์ยางไทยก้าวกระโดดหวังแปรรูปสร้างรายได้เหยียบแสนล้าน !
อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ยางพัฒนาอีกขั้นผู้ประกอบการสนใจวิจัย-พัฒนาอย่างต่อเนื่อง หวังลดส่วนแบ่งตัวเลขส่งออกน้ำยางดิบให้น้อยลง นำมาสร้างมูลค่าเพิ่มเหยียบ100,000ล้าน ยันหากได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไทยจะเป็นผู้นำแม่พิมพ์ยางได้ไม่ยาก ด้าน ผอ.ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาทางแม่พิมพ์ยางระบุภาคเอกชนกว่า 10บริษัทสนในร่วมงานทั้งสร้างเครือข่ายให้มีความเข็มแข็งเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
สถาบันไทย-เยอรมัน จัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต
สถาบันไทย–เยอรมัน ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จัดพิธีลงนามความร่วมมือในการจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และขยายบริการด้านการพัฒนาบุคลากร ตลอดจนเทคโนโลยีการผลิต ให้สามารถแข่งขันในระดับสากล
(สถาบันไทย-เยอรมัน 15 กันยายน 2551)
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ พัฒนาสารสนเทศ สร้างดัชนี เตือนภัย
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ รุกยุทธศาสตร์พัฒนาสารสนเทศ รวมข้อมูลอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ของไทยทั้งระบบ จัดทำเป็นดัชนีสร้างระบบเตือนภัยให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยใช้เป็นเข็มทิศพัฒนาธุรกิจ ย้ำข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว เข้าถึง เป็นต้นทุนสำคัญสำหรับผู้ประกอบการในยุคการแข่งขันไร้พรมแดน
(นิวส์ เพอร์เฟค คอมมิวนิเคชั่น, บจก. 6 กุมภาพันธ์ 2551)
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ย้ำนโยบาย Be part of you…Be part of the future เปิดโครงการ M&D Best รุ่น 2 พัฒนาโรงงานแม่พิมพ์ต้นแบบ ที่มีความเป็นเลิศ หวังบูรณาการมาตรฐาน และความสามารถในการประกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยให้ทันต่อสถานการณ์การแข่งขัน
(นิวส์ เพอร์เฟค คอมมิวนิเคชั่น, บจก. 15 พฤษภาคม 2550)