Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ2  
ผู้จัดการรายวัน18  
ผู้จัดการรายสัปดาห์2  
Total 20  

Listed Company
Manager Lists
 
People > บัณฑิต นิจถาวร


นิตยสารผู้จัดการ
"ทำไมไทยต้องมีเอ็กซิมแบงก์"ทัศนะจากเศรษฐกรไอเอ็มเอฟ ความพยายามของวิจิตร สุพินิจ และวีรพงศ์ รามางกูร ที่จะผลักดันให้ระบบการเงินมีกลไกสนับสนุนธุรกิจการส่งออกอย่างครบวงจรด้วยวิธีการดันออกมาเป็นกฎหมาย เพื่อให้สถาบันทางการเงินนี้ เป็นกลไกพิเศษที่มีอิสระในการบริหารจัดการตนเองภายใต้นโยบายของรัฐบาล(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
บัณฑิต นิจถาวร มันสมองคนไทย ในไอเอ็มเอฟ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ มีความสัมพันธ์กับรัฐบาลไทยมายาวนาน ไทยเป็นชาติแรก ๆ ที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกร่วมกับชาติมหาอำนาจตะวันตก นับตั้งแต่หน่วยงานนี้ ก่อตั้งและเริ่มดำเนินการหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
ผู้จัดการรายวัน
'ค่าบาท-สินเชื่อ'ปัจจัยชี้ขาด กนง.ปรับดอกเบี้ย10มี.ค. แบงก์ชาติชงข้อมูลการไหลเข้าของเงินทุน ค่าเงินและสินเชื่อเข้า กนง. 10 มี.ค.นี้ "บัณฑิต" แย้มดอกเบี้ยต่ำมากแล้ว แต่จะปรับขึ้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับเวลาที่เหมาะสม(ASTV ผู้จัดการรายวัน 17 กุมภาพันธ์ 2553)
ไล่ลงทุนตปท. ธปท.สกัดเก็งกำไร-บาทแข็ง ผ่อนคลายมาตรการลงทุนนอกอ้าซ่า ธปท.เลิกคุมวงเงินลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ ยกเลิกสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าได้ หวังสกัดการเก็งกำไรค่าบาท รับมือเงินทุนไหลเข้าผันผวน เผยหากมีการผ่อนคลายเพิ่มเติมจะทำแบบค่อยเป็นค่อยไปเพื่อให้ภาคธุรกิจปรับตัวได้ ศูนย์วิจัยกสิกรชี้สร้างสมดุลในระยะยาว(ASTVผู้จัดการรายวัน 2 กุมภาพันธ์ 2553)
ธปท.ชี้เงินไหลเข้าดันบาทแข็ง ธปท.เผยเงินบาทแข็งค่าขึ้นผลจากเงินทุนไหลเข้าตลาดหุ้นและพันธบัตร แนะภาคเอกชนปรับตัวรองรับความผันผวนจากเงินทุนไหลเข้าและเมื่อถึงจุดหนึ่งที่ต้องมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ชี้ดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นภายในปีนี้เป็นการส่งสัญญาณชัดเจนว่าเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวอย่างเข้มแข็ง(ASTV ผู้จัดการรายวัน 15 มกราคม 2553)
ผู้จัดการรายรายสัปดาห์
นับถอยหลังเศรษฐกิจ"รูดถึงจุดต่ำสุด" เช่าซื้อบอบช้ำราคามือสองร่วงต้นทุนวิ่ง แบงก์ชาติมั่นใจไตรมาส 4 ปีนี้เศรษฐกิจดิ่งถึงจุดต่ำสุด รอสัญญาณการบริโภคภายในเพิ่ม ดอกเบี้ยปรับตัวลดลง ขณะที่"สมาคมเช่าซื้อ"โอดราคารถมือ 2 ดิ่ง20-40% กดราคาสินทรัพย์ต่ำกว่าจำนวนเงินปล่อยกู้ ดอกเบี้ยวิ่งยังผลักภาระต้นทุนการเงิน ยึดรถก็ขายต่อยาก ต้องปรับตัวหันมาบริหารพอร์ตเพิ่มประสิทธิภาพ-บริหารต้นทุนป้องกันความเสี่ยง คาดครึ่งปีหน้ากำลังซื้อมีสิทธิ์หวนกลับหลังการเมืองเริ่มนิ่ง ส่วนครึ่งหลังปี 2550 คาดเห็นดอกเบี้ยนิ่ง ราคาน้ำมันทรงตัว ต้นทุนของผู้ประกอบการลด(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 กันยายน 2549)
เปลวเพลิงเงินเฟ้อร้อนรุ่ม ป่วนเสถียรภาพเศรษฐกิจ เงินเฟ้อขยับตัวพุ่งแรงเมื่อกันยายนที่ผ่านมาส่งสัญญาณกดดันต่อเสถียรภาพในประเทศ โดยความร้อนแรงนี้ยังมีโอกาสพุ่งขึ้นสูงอีกในไตรมาส 4 ปีนี้ อันจะส่งผลกระทบต่อประเทศจนแบงก์ชาติไม่อาจนิ่งเฉยได้ ต้องดันดอกเบี้ยอาร์/พีขึ้นอีก0.50% ลดแรงกดดันและรั้งเงินเฟ้อพื้นฐานไม่ให้เกินกรอบ3.5% แต่เชื่อว่าปีหน้าระดับเงินเฟ้อจะลดลงหลังราคาน้ำมันทรงตัวไม่ผันผวน พร้อมดึงมาตรการคลังเข้ามาหนุน ออกพันธบัตรดูดสภาพคล่องส่งเสริมการออม(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 ตุลาคม 2548)






upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us