เงินบาทแข็งนานแค่ไหน
ค่าเงินบาทใช้เวลาเพียงไม่กี่เดือนสามารถแข็งค่ามากขึ้นจนถูกจับตามองจากตลาดอย่างใกล้ชิดจากความวิตกกังวลต่อความผันผวนในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ภาวะกระทิง อานิสงส์ดอลลาร์อ่อน
ค่าเงินดอลลาร์อ่อน การเคลื่อนย้ายเงินทุนเริ่มคึกคักอีกครั้ง
และตลาดหุ้นเป็นเป้าหมายลำดับต้นๆ สำหรับการแสวงหาผลตอบแทน
ชดเชยความสูญเสียจากความไม่ไว้วางใจค่าเงินดอลลาร์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
จาก “Subprime” สู่หุ้นกู้ “CDS”
การกระตุ้นเศรษฐกิจตามนโยบายของรัฐบาลสหรัฐฯ หลังวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชีย และการค้าโลกเสียสมดุล ด้วยมาตรการต่างๆ โดยเฉพาะการกระตุ้นการบริโภคของชาวอเมริกัน จนนำมาสู่การพุ่งขึ้นของยอดสินเชื่อ “ซับไพรม์” ซึ่งแม้จะเป็นหนี้เสี่ยงที่จะกลายเป็นหนี้เน่า แต่ก็เป็นแหล่งที่นักการเงินมองเห็นหนทางการเก็งกำไร ซึ่งหลายคนร่ำรวยจากเงินก้อนนี้มาแล้ว
(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)
ตลาดหุ้นดัชนีขึ้นเขียวนักลงทุนไทยซื้อฝรั่งยังเทขายต่อ
ตลาดหุ้นไทยกระเตื้องปิดบวกจากแรงซื้อนักลงทุนในประเทศ หลังรัฐบาลมีทีท่าชะลอการแก้ไขรัฐธรรมนูญ-ราคาน้ำมันลด ขณะที่ต่างชาติยังขายกว่า 3 พันล้านบาท ด้านนักวิเคราะห์ คาดดัชนีวันนี้อาจลดลง จับตาการเมือง-เศรษฐกิจอเมริกา-ราคาน้ำมัน ขณะที่ บล.ทิสโก้ชี้ระยะสั้นดัชนีรีบาวนด์ จากที่ผ่านมาฝรั่งเทขายอย่างหนัก พร้อมแนะลงทุนหุ้นชนะเงินเฟ้อ 'พลังงาน เกษตร โรงพยาบาล เทเลคอม' เตือนนักลงทุนลดพอร์ตหุ้นเหลือ 60% จากเดิม 80%
(ผู้จัดการรายวัน 5 มิถุนายน 2551)
บล.ทรีนีตี้หวั่นเฟดขึ้นดอกเบี้ยดึงเงินต่างชาติไหลออกนอกปท.
บล.ทรีนีตี้ ชี้ ตลาดหุ้นไทยเสี่ยงหุ้นร่วง หากเฟดขึ้นอัตราดอกเบี้ย ส่งผลเม็ดเงินต่างชาติไหลออก"วิศิษฐ์"แจง ธปท.ลดดอกเบี้ยได้เร็วกระตุ้นเงินฝากในระบบ 5 ล้านล้านบาท หันเข้าตลาดหุ้นได้ชดเชยเงินฝรั่ง มั่นใจดัชนีตลาดหุ้นไทยขึ้นได้ ลั่น ถึง 1 พันจุดได้หรือไม่ขึ้นอยู่นโยบายของธปท.
(ผู้จัดการรายวัน 8 มิถุนายน 2550)