ชุมชนน่าอยู่ อยากได้ต้องร่วมสร้าง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ตัดสินใจหันมาโฟกัสอาคารชุดสำหรับกลุ่มกลางล่างเมื่อปี 2545 แต่มีโจทย์ว่าไม่ต้องการให้โครง การของบริษัทกลายเป็นสลัมลอยฟ้า จึงตัดสินใจเข้าไปเป็นกลไกร่วมสร้างชุมชนหลังปิดการขายทุกโครงการ จนคำว่า “ชุมชนน่าอยู่” ก่อตัวขึ้นได้จริงและบังเอิญ ว่า “การเริ่มต้น” และ “บทพิสูจน์” ของชุมชนน่าอยู่ ล้วนมาจาก “วิกฤติ”
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2555)
เก็บตะวันกับทิฆัมพร เปล่งศรีสุข
เสียงเพลง "เก็บตะวัน" จากเสียงร้องของผู้บริหารบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) ดังกระหึ่มไปทั่วดอยอ่างขางเมื่อคืนวันที่ 5 มกราคม ที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)
The Market Leader L.P.N. Group
บทสรุปของ แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ ณ วันนี้ ความสำคัญไม่ได้อยู่ที่ต้องสร้างโครงการให้เสร็จ ส่งมอบให้ลูกค้าแล้วก็จบ จากประสบการณ์ตลอด 16 ปีของการทำโครงการบอกว่าทั้งหมดนั้นไม่สำคัญเท่าประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโครงการหลังการขาย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2547)
แอล.พี.เอ็น.ฯ ปรับทัพสู้ศึก รับมือตลาดคอนโดแข่งเดือด
“แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์” ประกาศปรับทัพครั้งใหญ่ รองรับการขยายตัวของชาวชุมชนแอล.พี.เอ็น.ฯ ที่จะพุ่งถึง 100,000 ครอบครัวใน 5 ปีข้างหน้า พร้อมดันลูกหม้อขึ้นกุมบังเหียน เริ่มจากโอภาส ศรีพยัคฆ์ ,จรัญ เกษร,สรรค์ สุขุขาวดี ตามด้วยสมศรี เตชะไกรศรี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 14 มกราคม 2551)
LPNรื้อแผนทำคอนโด5แสนบาท หลังเจอกฎเหล็กคุมกำเนิดตึกสูง
ประกาศสิ่งแวดล้อมฉบับใหม่เริ่มก่อผลกระทบในวงกว้าง ล่าสุดLPNทบทวนแผนพัฒนาคอนโดฯราคาขาย 5 แสนบาท หลังเงื่อนไขบังคับถอยร่น-ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงเฉกเช่นอาคารขนาดใหญ่ ดันต้นทุนในการพัฒนาเพิ่ม เล็งหากเลี่ยงไม่ได้อาจจะปรับราคากว่า 5.5 แสนบาท
(ผู้จัดการรายวัน 21 มีนาคม 2549)
LPNทำคอนโด บุกตลาด5แสน ดึงลูกค้าบ้านเอื้อฯ
LPNเผยแผนรุกคอนโดฯ ตลาดล่าง เจาะกลุ่มลูกค้าระดับเดียว กับโครงการบ้านเอื้ออาทร 4-5 แสนบาทต่อยูนิต หลังกระแสจัดสรรกลาง-ใหญ่ หันเจาะกลุ่มคอนโดมิเนียมตลาดกลาง ยันผู้ประกอบการแห่บุก ตลาดกลางไม่กระทบยอดขาย ชี้คอนโดฯตลาดล่างทำยาก ประสบการณ์น้อย ไม่ตั้งใจจริงอย่าบุ่มบ่าม
(ผู้จัดการรายวัน 21 พฤศจิกายน 2548)
"L.P.N." คิดแบบผู้นำบริหารความสำเร็จด้วยใจ
- ถอดแบบแปลนความคิด "L.P.N. Development" คิดและทำอย่างผู้นำสร้างความสำเร็จ
- กรณีศึกษา บทเรียนธุรกิจจากองค์กรที่เคยล้มทั้งยืน เขากลับตัวแล้วตั้งลำกันอย่างไร?
- หลักการเรียบง่ายของการบริหารธุรกิจ ยืนอยู่บนความจริงใจ และใส่ใจความต้องการลูกค้ามากกว่าตัวเอง
- เปิดเสาหลัก 6 ค่านิยมองค์กรที่นำไปสู่ความสามารถในการจัดการ ต้องหล่อหลอมและบ่มเพาะให้อยู่ในฟันเฟืองเดียวกัน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)