6 ปีที่ผ่านไป
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก
ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์
ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
The Biggest Deal ธุรกิจไทย (ด้วยกัน)
การเกิดขึ้นของมิลเลนเนียมสตีล ถือเป็นกรณีประวัติศาสตร์ของ การรวมกิจการของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในประเทศไทย
ที่ได้บทสรุปอย่างนุ่มนวลที่สุด ทั้งๆ ที่แต่ละฝ่าย ล้วนมีบุคลิกที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
I shall Return
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เชื่อมั่นเสมอว่า ชีวิต และการทำงาน ก็เหมือนกับพระอาทิตย์
คือมีทั้งขึ้นและตก แต่หลังจากพระอาทิตย์ของเขาตกลงครั้งล่าสุด เขาต้องใช้เวลารอนานเกือบ
6 ปี กว่าที่แสงสีทองจะปรากฏขึ้นมาบนขอบฟ้า ให้เขาได้มองเห็นอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
2กลุ่มทุนยักษ์"สหวิริยา-สวัสดิ์"ชิงผุดโรงงานเหล็กขั้นต้น3แสนล.
ผู้ผลิตเหล็กค่ายยักษ์ "สหวิริยา" และ "เอ็น.ที.เอส." กลุ่มสวัสดิ์
หอรุ่งเรือง ชิงลงทุนตั้งโรงถลุงเหล็กมูลค่าสูงถึง 3 แสนล้านบาท หลังนโยบายพินิจ
จารุสมบัติ ประกาศให้การสนับสนุนอุตสาหกรรมเหล็กขั้นต้น ขณะที่ ทักษิณ เน้นปล่อยให้เอกชนเป็นผู้ลงทุนเองรัฐดูห่างๆ
มอบสศช.ศึกษาอีกทาง "สหวิริยา" ยอมรับกำลังศึกษาและจีบ JFE คอร์ปอเรชั่นจากญี่ปุ่นอยู่
(ผู้จัดการรายวัน 20 มกราคม 2547)
ดีล"ทีพีไอโพลีน"ล่มศาลนัดใหม่ 22ก.ค.นี้
ผลการขายหุ้นเพิ่มทุน "ทีพีไอโพลีน" ให้กับปูนซีเมนต์นครหลวงล่ม หลังจากกลุ่มผู้บริหารแผนฟื้นฟูฯ
ยื่นขออำนาจศาลเลื่อนออกไปอีก 2 สัปดาห์ เพราะต้องรอผลการเจรจาหาแหล่งเงินทุนใหม่
ขณะที่ศาลนัดพิจารณาใหม่ 22 กรกฎาคมนี้
(ผู้จัดการรายวัน 3 กรกฎาคม 2546)