SAMART ฟื้นไข้
วิกฤติเศรษฐกิจในช่วง 4-5 ปีที่แล้ว บริษัท องค์กรธุรกิจ ต่างประสบปัญหา บางแห่งปรับเปลี่ยนโครงสร้าง บางแห่งล้มหายไป
แต่นั่นเป็นจุดเปลี่ยนนำไปสู่การทำธุรกิจ Content ของเครือสามารถ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
เปิดฉากรุกตลาด content กีฬา
ในห้องแถลงข่าวที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการตกแต่งด้วยภาพของนักกีฬาฟุตบอล ของที่ระลึกสำหรับสื่อมวลชน และแขกที่มาในงานนั้นเป็นปฏิทินภาพของ David Beckham และซีดีรวมภาพไฮไลต์ของทีม Arsenal กระแส "กีฬาฟีเวอร์" ที่เกิดขึ้นในวันนี้ จึงเป็นโอกาสทองของการเปิดธุรกิจใหม่ โดยบริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด (มหาชน) และบริษัทสามารถ อินโฟ มีเดีย จำกัด บริษัทย่อยของ บมจ. สามารถ ไอ-โมบาย เซ็นสัญญาร่วมทุน 40 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
สยามสปอร์ต Keeping Score?
จากบทบาทแห่งความเป็นสื่อกีฬา กระโดดเข้ามากอบกู้ ฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศในฐานะผู้จัดการแข่งขัน
หลังจากล้มเหลวไม่เป็นท่า ความทะเยอทะยานครั้งนี้ จะสามารถตอบคำถามตนเองและปลอบประโลม
วงการฟุตบอลไทยได้หรือไม่ อีกไม่นานเกินรอ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
สยามกีฬา ผงาด
เมืองทอง ยูไนเต็ด อาจไม่มีวันนี้ หากไม่มีเจ้าของเป็นสื่อที่มากประสบการณ์และทรงอิทธิพลอย่าง “สยามสปอร์ต ซินดิเคต” เจ้าของหนังสือพิมพ์สยามกีฬา และสื่อสิ่งพิมพ์อื่นอีกมากมาย รวมไปถึงวิทยุ ทีวี และอินเทอร์เน็ต ภายใต้การนำของผู้ก่อตั้งอย่าง “ระวิ โหลทอง”
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2552)
อินไซด์เกาะติดเกมแบบสยามสปอร์ตฯ
ไม่ต้องทุ่มเงินซื้อลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสด ไม่ต้องจ้างมืออาชีพมาบรรยายเกม แต่สื่อยักษ์ใหญ่อย่างสยามสปอร์ตฯ สามารถใช้ความเป็นนักสื่อสารมวลชน นำ “คอนเทนต์” ด้านกีฬามาสร้างกระแส หนึ่งในกลยุทธ์สำคัญ คือ การส่งนักข่าวไปรายงานสดถึงขอบสนาม
(Positioning Magazine สิงหาคม 2550)
สยามสปอร์ต ลุยทัพ...รับบอลโลก
ฟุตบอลโลก (World Cup) ไม่เพียงเป็น Big Event ระดับโลก แต่คือ “โอกาสทอง” ของธุรกิจที่จะใช้จังหวะนี้ ขับเคลื่อนสินค้า สร้าง “ยอดขาย และแบรนดิ้งโปรดักส์” กันอย่างถ้วนหน้า เช่นเดียวกับ “ค่าย สยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด (มหาชน)” ในฐานะ Content Provider และผู้นำธุรกิจสิ่งพิมพ์กีฬาและสันทนาการรายใหญ่ของเมืองไทย ขยับตัวจัดทัพธุรกิจในเครือครั้งใหญ่ เพื่อขานรับกระแสฟุตบอลโลกอย่างเต็มอัตราศึก
(Positioning Magazine มิถุนายน 2549)
เปิดศึกสื่อบันเทิงรายวัน
ตลาดหนังสือพิมพ์บันเทิงเดือด สองค่ายยักษ์เข็นรายวันลงสนาม ทั้งสยามสปอร์ตฯ และอาร์.เอส.ฯ ที่เปิดบริษัทใหม่ นิวส์ เจนเนอเรชั่น ออกรบ ดึงต้อย แอ็คเน่อร์เป็นหัวเรือใหญ่ จับตาอากู๋ แกรมมี่ เอาด้วย ชี้สมรภูมินี้มีโอกาสโตทำเงินอีกมาก เหตุข่าวบันเทิงอยู่ในอันดับต้นของการอ่าน
(ผู้จัดการรายวัน 27 มิถุนายน 2548)
SPORTเคาะหุ้นพีโอ6.10บาทเตรียมเข้าเทรด29มิถุนายนนี้
หุ้นสยามสปอร์ตเคาะราคา 6.10 บาทเสนอขายแก่ประชาชนทั่วไป 50 ล้านหุ้น เตรียมขาย
14-15 มิ.ย. พร้อมเข้าเทรดในตลาดหลักทรัพย์ 29 มิ.ย. นี้ ผู้บริหารไม่หวั่นภาวะตลาดหุ้นที่ผันผวนชี้ผลสำรวจของนักลงทุนสถาบันให้ความต้องการล้น 3 เท่าตั้งเป้าปีนี้ผลประกอบการโตเกิน 100%
(ผู้จัดการรายวัน 11 มิถุนายน 2547)