Family business
ในบรรดาสถานีโทรทัศน์ทั้ง 6 ช่อง ช่อง 3 เป็นแห่งเดียวที่มีความเป็น "ธุรกิจครอบครัว" มากที่สุด แม้ว่าความเป็นธุรกิจครอบครัวจะทำให้ช่อง 3 ผ่านพ้นวิกฤติมาได้ แต่ก็อาจถึงเวลาต้องทบทวน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Channel 3 New Episode
BEC > No. 67 เป็นเวลามากกว่า 3 ทศวรรษ ที่ตระกูลมาลีนนท์บุกเบิกสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 จากธุรกิจที่มีสภาพเกือบล้มละลาย ให้กลายเป็นธุรกิจมีรายได้และผลกำไร จนสามารถเข้าระดมทุนในตลาดหุ้นเป็นรายแรกของโทรทัศน์ไทย แม้กระทั่งในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการเงินไม่เพียงแต่จะทำให้บีอีซีเวิลด์ไม่เจ็บตัวเหมือนคนอื่นๆ ยังได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่กำเงินสดในมือมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ช่อง 3 ล้มละลาย
"เนื่องจากการดำเนินกิจการที่ผ่านมาต้องต่อสู้กับปัญหานานาชนิดไม่รู้จักหมดสิ้น
และทำให้บริษัทยังขาดทุนอยู่ การที่ผมได้ชักชวนเพื่อนซึ่งรักใคร่นับถือกันมาเข้าชื่อซื้อหุ้นและต้องขาดทุนแบบนี้ผมไม่สบายใจมาก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2528)
ช่อง 3 หาช่องใหม่
สิ่งที่ทำให้ ประวิทย์ มาลีนนท์ เถ้าแก่ใหญ่แห่งช่อง 3 ยิ้มได้บ้างในช่วงนี้ อาจเป็นเพราะรายได้ช่วงไตรมาสสองของช่อง 3 หายใจหายคอคล่องขึ้น มีรายได้ทั้งหมด 229 ล้านบาท ดีขึ้นกว่าไตรมาสแรกถึงร้อยละ 50
(Positioning Magazine ตุลาคม 2548)
หุ้นซีวีดีฯผันผวนรับกำไรสุทธิรูด45%โบรกแนะขายให้ราคาเหมาะสม21.90บ.
หุ้นซีวีดีฯ ผันผวนรับข่าวผลงานไตรมาสแรกลดฮวบจากปีก่อนถึง 45% เหตุยอดขายและกำไรขึ้นต้นลดลง อันเป็นผลกระทบจากยอดขายตามฤดูกาล อีกทั้งผลกระทบของลิขสิทธิ์จากค่ายหนังเมเจอร์ที่สูงขึ้น ด้านบล. กิมเอ็ง : CVD แนะนำขายทำกำไร ให้ราคาเหมาะสมแค่ 21.90 บาท เพราะยังได้รับแรงกดดันจากสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์
(ผู้จัดการรายวัน 8 พฤษภาคม 2549)
มาลีนนท์แจงไม่มีแผนรวมCVD-BEC
กลุ่มมาลีนนท์แจงไม่มีแผนนำบริษัทซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์เข้าควบรวมกับบริษัทบีอีซี เวิลด์ พร้อมดันคนจากบีอีซีเทโร เข้านั่งเป็นกรรมการในซีวีดี เอ็นเตอร์เทนเมนท์ เตรียมศึกษาจุดอ่อน-จุดแข็งเพื่อนำมาปรับกลยุทธ์ให้บริษัทเติบโตเพิ่มขึ้น
(ผู้จัดการรายวัน 26 เมษายน 2549)