Metropolitan Lifestyle Business
หลังจากเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2545 เสริมความแข็งแกร่งด้านเงินทุนให้มั่นคงแล้ว เมเจอร์ฯ เริ่มมองหาโอกาสในการขยายธุรกิจจนวิชามีโอกาสมาพบกับนพพร วิฑูรชาติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทสยามฟิวเจอร์ ดีเวลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) หรือ SF
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของการใช้จ่าย
ตั้งแต่เดือนมีนาคมนี้ ลูกค้าของร้านเซเว่น อีเลฟเว่นทั้ง 3,000 สาขา และโรงภาพยนตร์ทุกแห่งของ SF ไม่จำเป็นต้องพกพาเงินสดติดตัว ขอเพียงมีบัตร Smart Purse ใบเดียว ก็สามารถซื้อสินค้าและตัวหนังได้อย่างสะดวกสบาย และไม่ต้องต่อคิว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
EMPORIUM SFX CINEMA
ในที่สุด ดิ เอ็มโพเรียม ศูนย์การค้าที่เปรียบเหมือนไข่ในหินของ ศุภลักษณ์
อัมพุช ก็ได้มีโรงหนังแห่งใหม่ที่หรูหรามีรสนิยมในระดับโรงแรม 5 ดาว จากค่าย
SF Cinema City
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
โรงหนัง 6 มิติ จุดขายแบบสวนสนุก
เมื่อสวนสนุกพาเหรดออกมาสู่โรงหนังในรูปแบบโรงหนัง 6 มิติ ขยายฐานกลุ่มนักท่องเที่ยวและครอบครัวให้กับโรงหนังปกติ เพิ่มจุดขาย เพิ่มทราฟฟิก และทำให้โรงหนังกลายเป็นหนึ่งใน Tourist Attraction
(Positioning Magazine 14 มีนาคม 2554)
เอสเอฟ...ฉบับ 3 D
ในฐานะอีกหนึ่ง Cinema Operator รายใหญ่ของเมืองไทย เอสเอฟ ซีเนม่า ซิตี้ เล็งเห็นถึงสัญญาณดีของหนัง 3D มานาน จนกระทั่งส่วนผสมทุกอย่างพร้อมลงตัว จุดระเบิดก็เกิดขึ้น
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2553)
ต้องพึ่งหนังดิจิตอล 3D
เป็นเรื่องน่าปวดใจไม่น้อยสำหรับทั้งคนสร้างภาพยนตร์และเจ้าของโรงภาพยนตร์ที่มีพวก Prirate ตามหลอกหลอนมานาน รายได้ที่ควรจะได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยกับเงินลงทุนนับสิบนับร้อยล้านบาท กลับต้องสูญเสียให้กับแผ่นผีที่ฉวยโอกาส รวมถึงมหกรรมโหลดบิทนานาชาติที่เฟื่องฟูพร้อมๆ กับไฮสปีดอินเทอร์เน็ต วันนี้อุตสาหกรรมภาพยนตร์และโรงภาพยนตร์มีทางออกที่ชัดเจน
(Positioning Magazine ตุลาคม 2552)
โรงหนังยังยิ้มได้ Q4 หนังเทศช่วยชีวิต ชี้ ทั้งปีไปได้ดี-ลุ้นปีเถาะโต 30%
ไตรมาส 4 หนังเทศช่วยชีวิต ส่งภาพรวมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ยังไปได้ดี ส่วนปีหน้าปีทองทั้งไทยและเทศ โตรวมไม่ต่ำกว่า 30% “เมเจอร์” มั่นใจทั้งปีโตไม่ต่ำกว่า 10% ตามเป้าที่วางไว้ ส่วนปีหน้าวางไว้ที่ 10-15% ทุ่มอีก 1,000 ล้านบาท ขยายโรงภาพยนตร์ต่อเนื่อง เอสเอฟตอกย้ำ ไตรมาส 4 อุตฯหนัง น้ำตาร่วง
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 22 ธันวาคม 2553)
“เอสเอฟ”หวังQ2-3ตลาดรวมฟื้น ผุดเอาท์ดอร์ซีนีม่าดูหนังเห็นทะเล
เครือเอสเอฟ เล็งผุดโรงหนังใหม่ในกรุงเทพฯอีกอย่างต่ำ 3-5 สาขา มั่นใจตลาดยังมีรองรับอีกมาก พร้อมเกาะติดไปกับศูนย์การค้าเซ็นทรัลเป็นหลัก เผยปีนี้วางแผนเปิดใหม่ 5 สาขา เปิดตัวไปแล้ว 3 แห่ง ล่าสุดเตรียมเปิดสาขาที่เซ็นทรัลพลาซ่าชลบุรีปลายเดือนนี้ ส่วนที่พัทยาเตรียมเปิดโฉมเอาท์ดอร์ซีนีม่า มั่นใจปีนี้แชร์เพิ่มเป็น 35%
(ASTVผู้จัดการรายวัน 18 พฤษภาคม 2552)
เอสเอฟรีวิวแผนตลาดบุกปีหน้า ปั้นสาขาเซ็นทรัลเวิลด์แชร์เพิ่ม 15%
เอสเอฟเตรียมปรับกลยุทธ์ตลาดบุกใหม่ในปีหน้า พร้อมทุ่มงบ 1,000 ล้านบาท ผุดเพิ่มไม่ต่ำกว่า 30 จอ เล็งปั้นสาขาเซ็นทรัลเวิลด์ขึ้นเป็นสาขาเรือธงสร้างรายได้หลักเกินกว่า 15% ของทั้งกรุ๊ป คาดหวังสาขานี้จะแชร์ 8% ของตลาดรวม 3,600 ล้านบาท และผลักดันให้เอสเอฟมีแชร์ตลาดรวมมากกว่า 30% มั่นใจปีนี้ รายได้แตะ 1,800 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 25 สิงหาคม 2549)
กลยุทธ์โรงหนังเพิ่มความถี่-จูงใจด้วยราคา สู้รายได้หด
โรงมหรสพทุกค่ายพร้อมใจอัดแคมเปญสารพัดเพิ่มความถี่ผู้ชม หวังปั้มตลาดช่วงซัมเมอร์ น้ำขึ้นให้รีบตัก เหตุฝันไกลแล้วต้องไปให้ถึงแต่ถูกไตรมาส 1 ยังฝืดฉุด เมเจอร์ค่ายใหญ่เปิดหวูด M-cash ส่วนเอส.เอฟ.และค่ายอื่นอัดกลยุทธ์ราคาเล็งเพิ่มลูกค้าหวังรายได้รวมรุ่ง ปั่นยอดสะสมทำงบปลายปีให้โตเข้าเป้า
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 เมษายน 2549)