"TEN & CO ยุทธศาสตร์ข้ามพรมแดนของ พีน่ากรุ๊ป"
พีน่ากรุ๊ปกำลังจูนทิศทางธุรกิจเสื้อผ้าสู่ MASS PRODUCRS เป็นการพลิกยุทธศาสตร์สู่ฐานกำลังการซื้อ "คนรุ่นใหม่" ที่มีนัยต่อวอลุ่มการขาย 2-3 ปีที่ผ่านมาภายในพีน่ากรุ๊ปมีการเตรียมความพร้อมหลายประเด็น มิติแรกเพื่อตั้งรับเกมการแข่งขันซึ่งจะเพิ่มความรุนแรงขึ้นอีกหลายเท่าตัว แต่มิติหลังกลับกลายเป็นการจัดทัพเพื่อหวนทดสอบกำลังในตลาดต่างประเทศอีกครั้งหนึ่ง TEN&CO คือ สินค้ายุทธศาสตร์ที่สุพจน์ ตันติจิรสกุลหมายมั่นปั้นมือให้เป็นหัวหอก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
TEN & CO เครือข่ายค้าปลีกเสื้อผ้า
ในภาวะที่ธุรกิจเสื้อผ้ายังเติบโตอย่างไร้ขีดจำกัดเช่นทุกวันนี้ ช่องทางการตลาดที่มีอยู่ครอบคลุม
และอยู่ในทำเลที่มีประสิทธิภาพ ดูจะเป็นไม้เด็ดสำคัญซึ่งหากค่ายใดมีไว้ ก็เหมือนมีชัยไปกว่าครึ่งแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
แฟชั่นแบรนด์เนมออกอาการผวา พีน่า เฮาส์นิ่ง-มอร์แกนงัดทีเด็ดหวังโตสวนเศรษฐกิจ
ตลาดแฟชั่นหวั่นเศรษฐกิจฉุดกำลังซื้อผู้บริโภคลด โดยเฉพาะสินค้าอินเตอร์แบรนด์ได้รับผลพวงหนัก ส่วนโลคอลแบรนด์ได้เปรียบเพราะราคาถูกกว่า เชื่อครึ่งปีหลังทุกแบรนด์งัดสารพัดกลยุทธ์สู้ศึก "พีน่า เฮาส์"ไม่ลงทุนเพิ่มเน้นบริหารธุรกิจในมือให้ดี ด้าน"มอร์แกน" ชี้ตลาดแฟชั่นปีนี้โตไม่เกิน10% จากการเมืองวุ่นและเศรษฐกิจแย่ งัดทีเด็ดเน้นบริการและส่งสินค้าคอลเลคชั่นใหม่ทุกสัปดาห์ หวังเรียกกำลังซื้อกลับคืน ตั้งเป้าสิ้นปีเติบโตสวนทางเศรษฐกิจที่70%
(ผู้จัดการรายวัน 10 กรกฎาคม 2549)
"ไอ.ซี.ซี."โต้นโยบายรัฐลดภาษี ระบุผู้ประกอบการไทยรับกรรม
"บุญเกียรติ" แห่ง ไอ.ซี.ซี.ออกโรงโต้นโยบายรัฐบาลปรับลดภาษีสินค้านำเข้าไฮเอนด์
"คิดแบบไม่ครบวงจร" แจงไทยยังมีทางเลือกอื่นสู่เป้าหมายศูนย์กลาง
ชอปปิ้งเอเชีย หวั่นผู้ประกอบการคนไทยรับผลกระทบ "พีน่าเฮ้าส์"
(ผู้จัดการรายวัน 3 กุมภาพันธ์ 2546)