ธุรกิจเจ้าปัญหาของกลุ่มเตชะไพบูลย์
กลุ่มเตชะไพบูลย์ ก้าวมาถึงทางตันทางด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อีกครั้ง การก่อสร้างอภิมหาโปรเจ็กต์ ตัวอย่างเช่น "เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์" และ "ฮาเบอร์วิว" ที่ครองแชมป์การก่อสร้างล่าช้าที่สุดอยู่แล้วต้องยืดเยื้อไปอีก ส่วนโครงการ "โอเอซิส" เองที่ใกล้จะเสร็จก็ต้องหยุดการก่อสร้างไว้ชั่วคราวเช่นกัน ทางด้านโครงการยักษ์ "ศรีราชานคร" ก็ต้องใช้เงินจำนวนมากอัดฉีด คราวนี้เห็นทีแบงก์ศรีนครเองก็คงช่วยอะไรไม่ได้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2540)
"เตชะไพบูลย์ ขายบางปูมา 20 ปี วันนี้ 'วันจักร วรดิลก' ก็ยังต้องมาขายต่อ"
จะว่าไปแล้ว การรวบรวมที่ดินผืนใหญ่นับหมื่นไร่ ริมถนนสุขุมวิทเมื่อประมาณ 30 กว่าปีที่แล้ว มาพัฒนาเป็น "นิคมอุตสาหกรรมบางปู" เป็นวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของ อื้อจือเหลียง, อุเทน เตชะไพบูลย์ และ เล็ก เศรษฐภักดีเป็นอย่างมาก เพราะเป็นที่ดินแปลงปัจจุบันที่กำลังทยอยทำรายได้ให้กับตระกูลเตชะไพบูลย์ ผู้ถือหุ้นใหญ่อยู่อย่างสม่ำเสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
เตชะไพบูลย์ : ทางใครทางมัน
แม้ว่า "เตชะไพบูลย์"จะเป็นตระกูลเก่าแก่ที่มีเครือข่ายธุรกิจใหญ่โตระดับแสนล้าน
มีผู้นำของตระกูลที่มีภาพภายนอกเป็นคนที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงทั้งใน "เชิงการค้า"
การเป็น "ผู้นำชุมชนจีน" และเป็น "นักบุญ" ที่ช่วยเหลือสาธารณกุศล
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
แบงก์ชฎาหวนคืนตลาดหุ้นตั้งบลจ.กลางปี47-ชูบริการลูกค้าอบอุ่น
แบงก์นครหลวงไทย (SCIB) ยุคใหม่ หลังกลืนแบงก์ เจ้าสัวอุเทน เตชะไพบูลย์
ศรีนคร รวมถึง สยายปีกครอบคลุมธุรกิจตลาดเงิน-ตลาดทุนไทยเกือบครบแล้ว เตรียมตั้งบลจ.กลางปีหน้า
มุ่งสู่ความเป็นเลิศด้านให้บริการลูกค้า ด้วยจุดแข็งที่ฝ่ายบริหาร-พนักงานธนาคารใกล้ชิด
และให้บริการที่อบอุ่นกับลูกค้า ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ตั้งเป้าเป็นธนาคารส่วนตัวลูกค้าที่ดีที่สุด
(ผู้จัดการรายวัน 20 ตุลาคม 2546)