Exclusive
ก่อนเดินทางไปกรุงพนมเปญครั้งนี้ทุกคนในวงคาราบาว, คาราบาวแดง และ "ผู้จัดการ" รวม 14 ชีวิต ก็หวั่นๆ เหมือนกันว่าจะเจอชาวกัมพูชาในอารมณ์ไหน เพราะหลังเกิดเหตุการณ์เผาสถานทูตไทยเมื่อปีที่ผ่านมา ยังไม่มีวงดนตรีวงใดเข้าไปเลย แม้แต่ละครทีวีจากเมืองไทยรัฐบาลกัมพูชาก็สั่งห้ามฉายจนบัดนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2547)
ก้าวแรกของชีวิต
ยืนยง โอภากุล เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2497 จากครอบครัวคนชั้นกลาง พ่อเคยเป็นข้าราชการครูมาก่อน แต่พอสงครามโลกครั้งที่ 2 ลาออกมาทำการค้า เปิดร้านขายของเล็กๆ ในตลาดเทศบาล 1 ตำบลท่าพี่เลี้ยง เมืองสุพรรณ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2547)
เดิมพันด้วยชีวิต แอ๊ด คาราบาว
แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินคนหนึ่งของเมืองไทยที่มีแฟนเพลงตั้งแต่ขอทานยันรัฐมนตรีมานานกว่า 20 ปี ความชื่นชอบในเสียงเพลงกลายเป็นอิทธิพลที่ทรงพลังทางความคิดให้กับคนกลุ่มใหญ่อย่างไม่ตั้งใจและเมื่อเขาเป็นพ่อค้าขายสินค้าที่มีกลุ่มเป้าหมายซ้อนทับไปกับแฟนเพลง เสียงวิพากษ์วิจารณ์จึงหนาหู เป็นการฉวยโอกาสที่ "รับไม่ได้" ในความคิดของคนหลาย ๆ คน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2547)
ขายข้าวแถมเพลง
“ข้าวตราฉัตร เครือเจริญโภคภัณฑ์ คือ เครื่องหมายรับประกันคุณภาพข้าวไทย” ยืนยง โอภากุล หรือแอ๊ด คาราบาว ร้องท่อนปิดท้ายของเพลงที่ชื่อว่า “ข้าวทองผองไทย” ระหว่างงานแถลงข่าวถึงแผนการตลาดประจำปี 2553
(Positioning Magazine มีนาคม 2553)
คาราบาวแตกไลน์ไม่ขายแค่เพลง
ไหนๆ วงคาราบาวยืนหยัดบนถนนสายดนตรีมายาวนาน 25 ปี สร้างชื่อเสียงจนรู้จักไปทั่ว ทั้งรุ่นเก่ารุ่นใหม่ ด้วยเหตุนี้เองแบรนด์ “คาราบาว ได้ถูกนำมาต่อยอดแตกไลน์เป็นธุรกิจผลิตเครื่องดนตรี โดยใช้แบรนด์และโลโก้ “หัวควาย” เป็นเครื่องการันตีคุณภาพ
(Positioning Magazine ตุลาคม 2551)