BBL เชื่อมธุรกิจ บล.บัวหลวง
การปรับเปลี่ยนผู้บริหารของบล.บัวหลวง ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เป็นกลยุทธ์สำคัญที่จะผสานความร่วมมือทางธุรกิจกับธนาคารกรุงเทพให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ตามแนวทาง Universal Banking
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
The New Arm บัวหลวง
ธุรกิจหลักทรัพย์ในเมืองไทยเป็นความหวังของคนไทยรุ่นต่างๆ เสมอ อย่างน้อย 3 รุ่นมาแล้ว ใน 3 ทศวรรษที่ผ่านมาตั้งแต่ในยุคก่อตั้งในราวปี 2520 รุ่นที่ 2 เปิดฉากอย่างคึกคัก ในราวปี 2530 และรุ่นล่าสุด ได้ก่อตัวขึ้นอย่างเงียบๆ หลังวิกฤติการณ์ปี 2540 ภายใต้สถานการณ์แวดล้อม ธุรกิจพลิกโฉมหน้าไปมาก โดยมี 'ฝรั่ง' เข้ามาครอบงำมากกว่ายุคใดๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
New Blood
ปิยะ ซอโสตถิกุล, ชอง โท และชนิดา โสภณพณิช ถือเป็นกลุ่มคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ของธนาคารกรุงเทพ
ที่มีความรู้ความสามารถ จนมีโอกาสได้เติบโตขึ้นมาเป็นผู้บริหารระดับสูงของ
บง.บัวหลวง และ บล.บัวหลวง สถาบันการเงินในเครือแห่งใหม่ โดยใช้เวลาไม่นานนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
ธ.กรุงเทพดึง"ชอง โท"ขึ้นผู้ช่วยเอ็มดีปรับกลยุทธ์ดันบัวหลวงติดท็อปไฟว์
บล.บัวหลวงปรับโครงสร้างการบริหารใหม่หลัง "ชอง โท" ถูกดันให้ไปนั่งเก้าอี้ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่แบงก์กรุงเทพ พร้อมควบประธานกรรมการบริหาร บล.บัวหลวง อีกตำแหน่ง ขณะที่ญาณศักดิ์ มโนมัยพิบูลย์ ขึ้นแท่นกรรมการผู้อำนวยการแทน ส่งผลทำให้ความร่วมมือทางธุรกิจมากยิ่งขึ้น ส่วนไตรมาส 2 ปีนี้กำไรหด 10.63% จากช่วงเดียวกัน ขณะที่เอเซีย พลัสพลิกจากขาดทุนเป็นกำไร เหตุตัดจำหน่ายต้นทุนเงินลงทุนที่เกินกว่ามูลค่ายุติธรรมของบริษัทย่อยเป็นค่าใช้จ่าย
(ผู้จัดการรายวัน 19 สิงหาคม 2548)