กนก อภิรดี เริ่มงานวันแรก ก็เจอแต่เรื่องวุ่นๆ
2 พฤษภาคม 2545 ถือเป็นวันเริ่มการทำงานในตำแหน่งกรรมการผู้อำนวยการใหญ่
การบินไทย วันแรกที่ดูจะไม่ค่อยจะราบรื่นเท่าใดนัก สำหรับกนก อภิรดี เพราะในวันเดียวกันกับที่เขาเข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ
เขาก็ต้องรับหนังสือลาออกจากตำแหน่งประธาน และกรรมการ การบินไทย ของ ดร.วีรพงษ์
รามางกูร
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)
กนก อภิรดี มืออาชีพคนแรกในการบินไทย
กนก อภิรดี ถือเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ของการบินไทยคนแรกที่มีที่มาจากคนนอก เขาถูกคัดเลือกเข้ามาจากคณะกรรมการสรรหาชุดที่มี ศรีสุข จันทรางศุ ปลัดกระทรวงคมนาคมเป็นประธาน
ในฐานะนักบริหารมืออาชีพที่สมัครเข้ามาตามขั้นตอน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2545)
สถาบันการเงินของรัฐจัดบุคลากรลงตัว
ยุทธ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารศรีนคร โดยเริ่มงานวันแรกเมื่อวันที่
15 สิงหาคมที่ผ่านมา ขณะที่กนกได้เข้ามาเป็นกรรมการผู้จัดการ บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม
(บอย.) ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน ส่วนกิตติรัตน์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มีผลวันที่ 10 กันยายน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
“หรูเริ่ด” Positioning ใหม่ การบินไทย
High Trust, World Class และ Thai Touch เป็นสถานะใหม่ของการบินไทย ในยุคที่ธุรกิจมี กนก อภิรดี นักการตลาดผู้ช่ำชองจากโอสถสภารับหน้าที่เป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ่
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2548)
บินไทยยึดอำนาจ "กนก" บอร์ดสุดทนตัวเลขขาดทุนพุ่งตั้ง "สมใจนึก" ดูแทน
บอร์ดการบินไทยยึดอำนาจบริหารจาก "กนก อภิรดี" หลังพบไตรมาส 3 ขาดทุน 6 พันล้าน เพราะน้ำมันแพง ผู้โดยสารลด แต่ "กนก" ไม่แก้ปัญหา ยังขึ้นเงินเดือนให้พนักงาน และส่ง "ประจักษ์ แจ่มรัศมีโชติ" ที่ใกล้ เกษียณไปดูแลการตลาด ปีนี้มีสิทธิเจ๊งถึงหมื่นล้าน ปลดไม่ได้เพราะยังไม่หมดสัญญาจ้าง ต้องตั้ง ตำแหน่งใหม่ให้ "สมใจนึก" แก้วิกฤตภายใน 3 เดือน ระดมคนในระดับกลางร่วมทีม
(ผู้จัดการรายวัน 11 สิงหาคม 2548)
การบินไทยลงทุนเพิ่ม1.4หมื่นล้าน
การบินไทยเปิดตัวแอร์บัส 340-500 พร้อมโลโก้ และเครื่องแบบพนักงานใหม่ เตรียมลงทุนอีกประมาณ 14,000 ล้านบาท ปรับเครื่องบิน อีก 24 ลำใน 2 ปี ตามแผนเอกลักษณ์ใหม่"กนก"หวังสร้างความประทับผู้โดยสาร สร้างรายได้โตแบบก้าวกระโดด ฟุ้งเป้ารายได้ ปี 48 ถึง 160,000 ล้านบาท เผยสึนามิกระทบเล็กน้อย ชี้น้ำมันแพงกระทบแต่ต้องบริหารความเสี่ยงและประเมินอย่างรอบคอบ
(ผู้จัดการรายวัน 8 เมษายน 2548)
การบินไทยรัดเข็มขัด ลดค่าใช้จ่าย3พันล้าน
การบินไทยรับมือศก.ปีหน้า ทั้งลดต้นทุนและเพิ่มรายได้ ตั้งเป้าลดค่าใช้จ่าย 3,000 ล้าน สั่งทุกฝ่ายทบทวนใหม่ หลังทำแผนเบื้องต้นหั่นได้แค่พันล้าน "กนก" ระบุโลว์ซีซันยืดจาก 3 เดือนเป็น 5 เดือน ผลจากศก.โลกหดตัวและน้ำมันแพง อัด 7 แคมเปญรับมือ มีทั้งแจกตั๋วฟรี 20,000 ใบ เที่ยวก่อนผ่อนทีหลัง หวังเพิ่มรายได้ถึง 7,000 ล้าน
(ผู้จัดการรายวัน 9 ธันวาคม 2547)
Big Challenge ธุรกิจปีหมูทองท้าทายนักการตลาดฝ่าสู่ความสำเร็จ
ผ่านพ้นปีแห่งความเหนื่อยล้าของเหล่าธุรกิจ ที่ต้องเดินผ่านเส้นทางแห่งความยากลำบากมาตลอด365 วัน ทั้งปัญหาการเมืองที่อึมครึมข้ามปี จนถึงกับหยุดชะงักจากการรัฐประหาร กระทบต่อความมั่นคงของเศรษฐกิจ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ความผันผวนของเศรษฐกิจ เงินบาทแข็งค่า ราคาน้ำมันพุ่งสูง แม้ทุกคนนำพาธุรกิจฝ่าอุปสรรคมาจนผ่านพ้นปีได้ แต่เวลาหยุดพักคงไม่มีมากนัก Big Challenge ความท้าทายของธุรกิจในปีหมูทอง ยังรออยู่ข้างหน้า
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 ธันวาคม 2549)
พิษน้ำมันทำสายการบินป่วน...งัดกลยุทธ์ใหม่สู้เพื่ออยู่รอด
ราคาน้ำมันที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อผู้ให้บริการสายการบินรวมทั้งภาวะเศรษฐกิจที่หดตัวผนวกกับค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้น สถานการณ์ของธุรกิจการบินในประเทศจึงตกอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการขาดทุน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 กรกฎาคม 2548)