SCIS : Model ใหม่ของธุรกิจหลักทรัพย์
หลายคนอาจสงสัยว่าสาขาของ SCIB จะสามารถถูกใช้เป็นจุดขายให้กับธุรกิจหลักทรัพย์ของ บล.นครหลวงไทย (SCIS) ได้อย่างไร แต่ด้วยเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมา โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต การส่งคำสั่งซื้อหรือขายหุ้นโดยผ่านทางสาขาธนาคาร มิใช่เป็นเรื่องที่ทำได้ยากอีกต่อไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
The Real Universal Banking
ขณะที่ธนาคารพาณิชย์แทบทุกแห่งต่างประกาศตัวกันปาวๆ ว่าจะเบนเข็มไปสู่การเป็น Universal Banking แต่กลับมีธนาคารเพียงไม่กี่แห่งที่มีรูปแบบการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม และผู้บริโภคทุกคนสามารถจับต้องได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
สาขาแห่งความทันสมัย
การปรับแต่งรูปแบบสาขาใหม่ของ SCIB เริ่มต้นเมื่อปี 2546 โดยเริ่มจากสาขาที่อยู่ในกรุงเทพฯ 120 แห่งก่อน รูปแบบใหม่ดังกล่าว SCIB ได้บริษัท FRCH จากสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ออกแบบให้ แต่เป็นการออกแบบตั้งแต่สมัยที่ยังไม่เกิดวิกฤติการณ์ทางการเงินคือก่อนปี 2540
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
“บัตรเดียว” พอแล้ว
“จะฝาก จะถอน เอาหมอนมาด้วย” สโลแกนที่ถูกนำมาล้อเลียนให้นิยามสำหรับแบงก์รัฐ โดยเฉพาะกับธนาคารกรุงไทย และทหารไทย อาจกำลังถูกลบเลือนไป เมื่อทั้งสองแบงก์พยายามสร้างความรวดเร็วในการให้บริการด้วย ”บัตรประชาชน” เพียงใบเดียว จนภาพลักษณ์ของแบงก์ทันสมัยขึ้น และเร่งให้แบงก์เอกชนต้องเดินตามมาติดๆ ในเวลานี้
(Positioning Magazine มกราคม 2553)
KTBคาดสินเชื่อโต7% เน้นรายย่อย-ขรก.ห่วงดบ.ขาขึ้นแข่งดุฉุดสเปรด
บิ๊กแบงก์กรุงไทยเผยรายได้หลักของธนาคารในปี 53 มาจากสินเชื่อและค่าฟี ส่งผลให้มีการแข่งขันรุนแรง ฉุดสเปรดแบงก์ลดลง พร้อมตั้งเป้าเติบโตตัวสินเชื่อ 7% ตามการการขยายตัวของจีดีพีที่คาดว่าจะอยู่ที่ 3-3.5% พร้อมลุยปล่อยสินเชื่อโครงการภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
(ASTVผู้จัดการรายวัน 2 พฤศจิกายน 2552)
แบงก์คาดกนง.คงดอกเบี้ย1.25%
นายแบงก์คาดกนง.คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 1.25%ในการประชุมวันนี้ ระบุถึงลดตอนนี้ก็ไม่มีผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ ขณะที่แรงกดดันจากอัตราเงินเฟ้อยังไม่มีวี่แวว
(ASTVผู้จัดการรายวัน 14 กรกฎาคม 2552)
แบงก์ผุดแนวคิดขอลดเงินสมทบ แลกลดอกเบี้ยกู้-ช่วยกระตุ้นศก.
ประธานสมาคมธนาคารไทยผุดแนวคิดขอลดเงินสมทบที่ต้องจ่ายให้สถาบันประกันเงินฝาก 0.4% เพื่อลดต้นทุนและไปเพิ่มดอกเบี้ยเงินฝากหรือลดดอกเบี้ยเงินกู้แทน หวังบรรเทาภาระลูกค้า และเป็นส่วนที่ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้ทางหนึ่ง ชี้สิ่งที่กังวลสุดขณะนี้คือความเชื่อมั่นหากถูกบั่นทอนต่อไปอาจมีผลต่อเงินไหลออกได้ ส่วนนโยบายรัฐหันกู้ในประเทศมากขึ้นจะส่งผลให้ธนาคารมียอดปล่อยสินเชื่อเพิ่มยันสภาพคล่องมีพอเพียงรองรับ ด้านแบงก์กรุงไทยไตรมาสแรกสินเชื่อโต 1.7%
(ผู้จัดการรายวัน 20 เมษายน 2552)