Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ18  
Positioning3  
ผู้จัดการรายวัน113  
ผู้จัดการรายสัปดาห์4  
Total 134  

Listed Company
Manager Lists
 
People > ปรีดิยาธร เทวกุล, ม.ร.ว.


นิตยสารผู้จัดการ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ หนังสือเรื่องนี้แม้มีความหนา 916 หน้า และมีถึง 2 เล่ม แต่ละเล่มมี 44 บท โดยคนอ่านไม่จำเป็นต้องอ่านต่อเนื่องกันไป สามารถเลือกอ่านบทใดบทหนึ่งที่สนใจก่อนก็ได้ แต่ความสนุกของเนื้อหาทำให้อ่านได้หมดเล่มแทบไม่รู้ตัว(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2548)
3 เดือนแห่งความคลุมเครือ 26 ก.ค.2547 คณะกรรมการ KTB มีมติรับวิโรจน์ให้กลับมารับ ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ต่ออีก 1 สมัย ในขณะที่กระแสข่าวเรื่อง NPLs ของธนาคารที่เพิ่มขึ้น 4.6 หมื่นล้านบาทจากลูกหนี้ 14 ราย กำลังกดดันราคาหุ้น KTB ในตลาด(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
ละเลย? ในที่สุดความคลุมเครือที่กดดันราคาหุ้นของธนาคารกรุงไทย (KTB) มากว่า 3 เดือน ก็ถูกเฉลยออกมาแล้วว่ามีสาเหตุมาจากความต้องการสกัดกั้นการกลับเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ รอบ 2 ของวิโรจน์ นวลแข ที่พ้นจากตำแหน่งหลังหมดวาระไปเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
Positioning Magazine
“เพียงพอ พอตัว พอดี” คาถา ”หม่อมอุ๋ย” กระทรวงการคลังที่ถือเป็นหัวใจหลักในการควบคุมระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งมี ”ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล” เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2549)
“ปรีดิยาธร เทวกุล”อำนาจ ”เสถียรภาพเศรษฐกิจ” ชายร่างสูงโปร่ง มาดขรึม นิยมผูกหูกระต่ายมากกว่าเนกไท ตามแบบฉบับของนักเรียนไทยที่มีโอกาสไปศึกษาต่างประเทศ สัญญลักษณ์ภายนอกที่อาจทำให้ใครก็ตามที่ยังไม่เคยรู้จักกันมาก่อนแต่ต้องเข้าใกล้จะรู้สึกเกร็ง ด้วยเกรงว่าอาจถูกความขรึมนั้นบาดเข้าให้ แต่หากได้รู้จักกันบ้างแล้ว ส่วนใหญ่ความเกร็งนั้นจะหายไป จะเหลือก็เพียงความเกรง และความนับถือ ยิ่งไปกว่านั้นหากได้สนทนามุกฮา ก็อาจถูกยิงออกมาบ้างเป็นบางครั้ง(Positioning Magazine กรกฎาคม 2549)
ม.ล.ณัฐกรณ์ เทวกุล คุยเศรษฐกิจแบบฟุตฟิตฟอไฟ นามสกุลค้นหู “เทวกุล” อีกทั้งคำนำหน้านาม ม.ล. และการเป็นลูกชายของ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ทำให้ ม.ล.ปลื้ม-ณัฏฐกร เทวกุล ได้รับการจับตามองเป็นอย่างมากในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ท่วงทำนองการพูดจาภาษาอังกฤษที่ฉะฉานประหนึ่งเจ้าของภาษา(Positioning Magazine กันยายน 2548)
ผู้จัดการรายวัน
โกร่งชี้ปีหน้าเงินตึง-บาท40 จี้ธปท.ผ่อนกฎคุมแบงก์อุ๋ยย้ำขึ้นดอกเบี้ยแก้เฟ้อ พ้นเก้าอี้ ผู้ว่าฯ แล้วแต่ยังรักแบงก์ชาติสุดลิ่ม หม่อมอุ๋ยกางปีกป้อง กนง.ต้องขึ้นดอกเบี้ยแก้เงินเฟ้อ ขณะที่ "ดร.โกร่ง" ตัวแทนเอกชนจวกเป็นริดสีดวงแต่ใช้ยาหยอดตารักษา เตือนหากยังดื้อแพ่งขึ้นดอกเบี้ย ปีหน้าเศรษฐกิจไทยเจอภาวะเงินตึงตัว เงินบาทอ่อนค่าถึง 40 จี้ผ่อนปรนมาตรการควบคุมสถาบันการเงินก่อนหายนะ หากยังเข้มงวดเกินไปผู้ประกอบการล้ม ไม่เพียงกระทบแบงก์ แต่ "ธาริษา" ก็อาจตกเก้าอี้ผู้ว่าฯ(ผู้จัดการรายวัน 10 กรกฎาคม 2551)
โบว์ดำหุ้น-บาทเจ๊งล้านล้าน การตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งของรองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง ที่ชื่อปรีดิยาธร เทวกุล แบบสายฟ้าแล่บก่อนเที่ยงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2550 หากดูผิวเผินคงเป็นข่าวร้ายที่สร้างความตื่นตระหนกและกระเทือนรัฐบาลสุรยุทธ์ แต่หากยึดจากผลงานที่ผ่านมาเป็นหลัก จะพบว่า การไม่มี ม.ร.ว.ปรีดิยาธรร่วมรัฐบาล ยิ่งดีกว่า เพราะความเสียหายของชาติจะไม่บานปลายไปมากกว่าที่ผ่านมา...(ผู้จัดการรายวัน 1 มีนาคม 2550)
อุ๋ยยกก้นธาริษาหยั่งรู้บาทโวมาตรการ30%ได้ผล-เจโทรชี้ศก.วูบ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง เปิดเผยว่า จากกรณีที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ผ่อนเกณฑ์สำรอง 30% เงินทุนจากต่างประเทศไปเมื่อวันที่ 29 ม.ค.ที่ผ่านมานั้น ยืนยันว่าจะยังมีผลในการดูแลค่าเงินบาทตลาดในประเทศไม่ให้แข็งค่าขึ้นเกินไปเช่นเดิม โดยที่ ธปท. ยังคงมาตรการกันสำรอง 30% เอาไว้สำหรับการทำธุรกรรมเงินตราต่างประเทศแลกเงินบาทรายการเดิมที่ต้องกันสำรอง แต่ได้เพิ่มทางเลือกให้ว่า จะเลือกกันสำรองเหมือนเดิม หรือจะเลือกป้องกันความเสี่ยง fully Hedge ซึ่งก็คือการไปซื้อหรือขายล่วงหน้าก็ได้ และเป็นการผ่อนปรนเฉพาะในส่วนที่เป็นเงินทุนระยะยาวและการลงทุนในหุ้นเท่านั้น(ผู้จัดการรายวัน 31 มกราคม 2550)
ผู้จัดการรายรายสัปดาห์
ซับไพร์มครั้งต่อไปตัวชี้ขาดลุ้นเงินไหลกลับไทย-บาทไม่อ่อนต่อ 3เกจิชี้ ซับไพร์มในสหรัฐปมปัญหาใหญ่ ส่งผลไทยโดนหางเลขทำบาทอ่อน แต่แนวโน้มระยะยาวอาจอ่อนต่อไปได้อีกไม่มาก ส่วนอัตราดอกเบี้ยต่อจากนี้มีสิทธิ์ขึ้น ได้แต่คงไปได้ไม่ไกล(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 กันยายน 2551)
มาตรการค่าเงินบาท “หม่อมอุ๋ย” กิน 2 เด้ง * แม้ตลาดหุ้นจะพินาศจากมาตรการค่าเงินบาท * แต่เมื่อประเมินใครได้ ใครเสีย พบว่า “หม่อมอุ๋ย” กวาด 2 เด้งแบบไม่รู้เนื้อ * เด้งแรกจัดการกลุ่มอำนาจเก่าที่ดอดเข้ามาปั่นค่าเงินหวังดิสเครดิตรัฐบาล เท่ากับเป็นการทำลายถุงเงินของคู่ต่อสู้ไปในตัว * เด้งสองคนใกล้ชิดรัฐบาลดอดเก็บหุ้นราคาถูก จนร่ำรวยกันในชั่วข้ามคืน ....(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 ธันวาคม 2549)
แปลงโฉม"ตลท."สู่อาณาจักรธรรมภิบาล"อุ๋ย"การันตีรัฐไม่เอี่ยวนักลงทุนก็เชื่อมั่น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(ตลท.)ไม่ต่างอะไรจากประตูบานแรกของบ้าน ที่เมื่อเจ้าของเปิดออกก็เห็นภาพที่อยู่เบื้องหลังของประตู ภาพนั้นจะสวยสดงามเพียงใดก็อยู่ที่การจัดและตกแต่งให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ซึ่งก็ไม่ต่างอะไรจากการจัดระเบียบสร้าง "ธรรมภิบาล" "ตลท." ให้เป็นที่น่าเชื่อถือของนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งนั่นทำให้ภาพใหม่ของ ตลท.จึงมิใช่แค่แหล่งเก็งกำไรของนักลงทุน หรือตลาดหุ้นที่สะท้อนภาพการขยายตัวหรือหดตัวทางเศรษฐกิจเท่านั้น หากแต่ยังแสดงให้เห็นหน้าตาของประเทศที่ลั่นวาจายึดหลักธรรมภิบาลอีกด้วย(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 พฤศจิกายน 2549)






upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us