Channel 3 New Episode
BEC > No. 67 เป็นเวลามากกว่า 3 ทศวรรษ ที่ตระกูลมาลีนนท์บุกเบิกสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 จากธุรกิจที่มีสภาพเกือบล้มละลาย ให้กลายเป็นธุรกิจมีรายได้และผลกำไร จนสามารถเข้าระดมทุนในตลาดหุ้นเป็นรายแรกของโทรทัศน์ไทย แม้กระทั่งในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการเงินไม่เพียงแต่จะทำให้บีอีซีเวิลด์ไม่เจ็บตัวเหมือนคนอื่นๆ ยังได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่กำเงินสดในมือมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
34 ปี ช่อง 3
ลำดับเหตุการณ์ 34 ปี ของช่อง 3
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ผลงานชิ้นแรกใน ITV
นับแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นไป ผังใหม่ไอทีวีจะถูกนำมาใช้ เป็นผังที่ได้รับการจัดโดยไตรภพ
ลิมปพัทธ์ ผู้ถือหุ้น 10% และรั้งตำแหน่งผู้บริหารไอทีวี เป็นตำแหน่งที่นิวัตน์ธำรง
บุญทรง ไพศาล ประธานกรรมการบริหาร บริษัทไอทีวี บอกว่าอยู่ในวาระพิจารณาของบอร์ดไอทีวี
แต่ที่แน่ๆ เป็นตำแหน่ง "ผู้บริหารระดับ สูง"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
ไตรภพ-กันตนาปิดเกมITV อ้างโครงสร้างไม่ลงตัว-ทราฟฟิกฯมีชื่อโผล่เสียบ
ปิดฉากละครซื้อหุ้นไอทีวี บอสใหญ่ แจง เหตุล้มดีล "ไตรภพ-กันตนา" สาเหตุใหญ่ไม่ลงตัวเรื่องโครงสร้าง ระบุหัวใจของการทำธุรกิจ ทุกฝ่ายต้องวินวิน แต่ลักษณะงาน ของธุรกิจโทรทัศน์ เจ้าของสถานีก็ต้องการความหลากหลายของรายการ ขณะที่ผู้จัดก็ต้องการเวลาออกอากาศมากๆ จึงไม่ลงตัว ด้าน "กันตนา" เผยไอทีวีไม่สามารถให้คำตอบหลัก ประกันในเวลาออกอากาศในระยะยาวได้ จึงไม่โอเค พร้อม เดินหน้าธุรกิจเตรียมกระจายหุ้นไตรมาส 2 ปีหน้า ด้านไตรภพ ประกาศที่ผ่านมาก็ไม่เคยมีตำแหน่งบริหารในไอทีวีเป็นเพียง ผู้จัดรายหนึ่งเท่านั้น ยันเรื่องเงินไม่สำคัญ ลือหึ่งทราฟฟิกฯ เสียบหุ้นไอทีวีแทน โต้งแนะรายย่อยต้องดูแลตัวเองมากขึ้น
(ผู้จัดการรายวัน 2 พฤศจิกายน 2548)
ITVทำสัญญาขายหุ้นใหม่ไตรภพ-กันตนายืดใช้สิทธิ
ITV แจงบอร์ดให้ทำสัญญาเรื่องการจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนให้ "ไตรภพ ลิมปพัทธ์" และ "กันตนา กรุ๊ป" รวม 300 ล้านหุ้น หลังพันธมิตร ทั้งสองรายขอยืดเวลาในการใช้สิทธิจน ถึงสิ้นตุลาคม48 มั่นใจเป็นประโยชน์ต่อบริษัท พร้อมพิจารณาเงื่อนไขในสัญญาการขายหุ้นครั้งนี้
(ผู้จัดการรายวัน 29 พฤศจิกายน 2547)
ล้มดีลไอทีวี VS กันตนา & ไตรภพ ใครทิ้งใคร ?
-ปิดฉากการร่วมหุ้นในในไอทีวีของไตรภพ และกันตนา หลังยืดเยื้อมานานกว่าขวบปี
-เกิดอะไรขึ้นกับเหล่าพันธมิตรทั้ง 3 และเหตุผลของการล้มดีลมีเงื่อนงำใดซ่อนอยู่
-งานนี้จบด้วยความชื่นมื่นกันทั่วหน้า หรือด้วยความกล้ำกลืนของบางฝ่าย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 พฤศจิกายน 2548)