ปีเตอร์ กาญจนพาสน์
"ในเมืองไทยทุกวันนี้คุณพ่อผมรู้จักแค่ที่นี่เมืองทองธานี ธนาซิตี้ กับบ้าน เมื่อวันก่อนผมพาเขาไปที่ดิเอ็มโพเรียม เพิ่งไปมาครั้งแรกมั้ง ได้เสื้อมาตั้งหลายตัว ท่านสนุกมาก" ปีเตอร์ ลูกชายคนโต วัย 31 ปี ของอนันต์ กาญจนพาสน์ เล่าให้ฟังถึงพ่อของเขาด้วยน้ำเสียงที่เต็มไปด้วยความรักและผูกพัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
มงคล กาญจนพาสน์
ตลอด 20 ปีของนิตยสารผู้จัดการ ได้บันทึกประวัติศาสตร์ชีวิตธุรกิจชาวจีนโพ้นทะเลอย่าง
"อึ้ง จือ เม้ง" หรือ "มงคล กาญจนพาสน์" และลูกๆ ไว้ตลอดในแต่ละความเคลื่อนไหวที่สำคัญของเขา
นับจากครั้งแรกในนิตยสารผู้จัดการ ฉบับที่ 2, 9 และ ฉบับที่ 21 เดือนพฤษภาคม
2528 ในเรื่องปก "ศึกชิงสำนักน่ำไฮ้"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
"เมืองทองธานี" รอวันปิดฉาก?
ชื่อของอนันต์ กาญจนพาสน์ เป็นที่รู้จักของคนไทย
เมื่อประมาณ 15 ปีก่อนมานี้เอง ด้วยการเข้ามาสร้าง
อภิมหาอาณาจักรด้านที่อยู่อาศัยในเมืองทองธานี
ท่ามกลางข่าวลือที่กระหน่ำซ้ำเติมตลอดเวลาว่า คงไปไม่รอด และสักวันหนึ่งอาจจะถึงวันจบที่น่าหวาดเสียว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)
ปีเตอร์ กาญจนพาสน์ ตำนานบทใหม่ที่ต้องใหญ่กว่าเก่า
ฉายามังกรข้ามถิ่นเริ่มต้นเมื่อรุ่นปู่และรุ่นพ่อได้สร้างบทพิสูจน์เรื่องราวตำนานราชาที่ดินไว้อย่างยิ่งใหญ่ เมื่อบทบาทต่อไปของช่วงชีวิตลูกชายคือการสานฝัน และสร้างโอกาสสู่ตำนานบทต่อไป ด้วยการทำให้ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า อิมแพค เมืองทองธานีก้าวขึ้นสู่ระดับโลก
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2547)
บางกอกแลนด์รื้อโครงสร้างอิมแพ็คก่อนหาผู้ร่วมทุน-เข็นเข้าตลาดหุ้นไทย
บอร์ด "บางกอกแลนด์" อนุมัติปรับโครงสร้างบริษัทใหม่ ขายศูนย์การแสดงสินค้า "อิมแพ็ค อารีน่า" ให้กับบริษัทย่อย "อิมแพ็ค" มูลค่ากว่า 9.2 พันล้านบาท แต่รับชำระเป็นหุ้นเพิ่มทุนทั้งจำนวนเพื่อรักษาสัดส่วนการถือหุ้นไว้ 99% ก่อนจะหาพันธมิตรร่วมทุนรายใหม่ และผลักดันเข้าจดทะเบียนในตลาดหุ้นไทย
(ผู้จัดการรายวัน 25 มกราคม 2550)
ดันบีแลนด์กลับมาใหญ่
บางกอกแลนด์ เตรียมระดมเม็ดเงินลงทุนบริษัทลูก "อิมแพค" ผุดศูนย์แสดงสินค้า-โรงแรม
มูลค่ารวม 10,000 ล้านบาท หวังติดอันดับศูนย์การประชุมและแสดงสินค้าติดอันดับ 1
ใน 10 ของโลก ระบุหากทุกอย่างแล้วเสร็จอิมแพคจะมีรายได้ปีละ 4,000 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 18 มิถุนายน 2547)
B-LANDดึง2กองทุนฯซื้อหุ้นเพิ่มทุน5.8พันล.
บางกอกแลนด์ พอใจชื้น หลังจบดีลเพิ่มทุน 5.8 พันล้านหุ้นขาย 2 กองทุน ตปท. วงเงิน
2 พันลบ.แบ่งเป็น 2 ล็อต ล็อตแรก 2.8 พันล้านหุ้น ขายเหมา 2 พันล้านบาท ล็อตที่สอง
1,000 ล้านหุ้น ขาย 1.85 บาท/หุ้น แต่ไม่ได้บังคับจะซื้อหรือไม่ ก็ได้ แต่ไม่หนำใจเพิ่มทุนขายผู้ถือหุ้น
1.1 พันล้านหุ้น เบ็ดเสร็จงานนี้เพิ่มทุน 6.9 พันล้านหุ้น หวังนำเงินไถ่หนี้แบงก์กรุงเทพ-ไทยธนาคาร-ออมสิน
พร้อมลงทุนทำโครงการอาคารแสดงสินค้าที่เมืองทองธานีและขยายธุรกิจอื่นๆเพิ่ม
(ผู้จัดการรายวัน 13 พฤษภาคม 2547)