Peugeot อีกครั้งของยนตรกิจ
การเปลี่ยนแปลงในตลาดรถยนต์ของไทยในช่วงที่ผ่านมา นอกจากจะทำให้ตัวแทนจำหน่ายหลายรายมีอันเป็นไปตามแต่สภาพของแต่ละบริษัทแล้ว รถยนต์แบรนด์ดังที่ได้ชื่อว่าเป็นตำนานบนท้องถนนไทยจำนวนไม่น้อยยังอันตรธานหายไปจากตลาดด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2552)
ยนตรกิจ เมื่อโรลส์รอยซ์ต้องหลุดมือ
หลังจากยนตรกิจได้สิทธิในการเป็นตัวแทนขายรถยนต์ โรลส์รอยซ์ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการมาได้ไม่ถึง
2 ปี สิทธิ ดังกล่าวก็หลุดจากมือของยนตรกิจ เนื่องจากค่ายบีเอ็มดับเบิลยู
เป็นฝ่ายได้สิทธินี้มาครอบครองตามสัญญาการซื้อขายกิจการใน ต่างประเทศที่ให้มีผลตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นไป
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2545)
วิทิต ลีนุตพงษ์ ดิ้นรนเพื่ออยู่รอดของยนตรกิจ
วิทิต ลีนุตพงษ์ เป็นลูกคนที่ 9 ของอรรถพร ลีนุตพงษ์ เจ้าของตำนาน ผู้สร้างยนตรกิจ
ซึ่งเพิ่งเสียชีวิตลงเนื่องจากหัวใจล้มเหลว เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ลีนุตพงษ์แบ่งกงสียนตรกิจ"วิทิต"หอบโฟล์กฯลุยเดี่ยว
พี่น้องตระกูล “ลีนุตพงษ์” แบ่งสมบัติกงสีในกลุ่ม “ยนตรกิจ”ลงตัว “เสี่ยวิทิต” ฉายเดี่ยวได้รถยนต์โฟล์คสวาเกน และตึกที่รองเมืองไป “พงษ์เทพ” ไม่ขอยุ่ง ขณะที่รายอื่นๆ ยังจับมือกันในนามกลุ่มยนตรกิจ ภายใต้การนำของพี่ใหญ่ “สรวิศ” เดินหน้าขาย ออดี้, ซีตรอง, เปอโยต์, เกีย และสโกด้า โดยมีฐานบัญชาการอยู่ที่ตึกสุรวงศ์ แม้โครงสร้างบริหารใหม่จะยังไม่เปิดเผย แต่น่าสังเกตงานยนตรกิจ ออโต้ โชว์ ไร้เงาโฟล์คฯ เข้าร่วม
(ผู้จัดการรายวัน 22 กุมภาพันธ์ 2551)
ขายหุ้นใหญ่นิสสันไทยชัยชนะของ"พรประภา"
การขายหุ้นใหญ่นิสสันในไทยของกลุ่มสยามกลการ ถือเป็นบริษัทรถยนต์รายล่าสุดที่ถูกซื้อกิจการกลับไปเป็นของบริษัทแม่ จึงไม่แปลกหากจะถูกมองด้วยสายตาไม่แตกต่างกันแต่อย่างใด แต่สิ่งที่ดูเหมือนจะแพ้หากมองในอีกแง่มุม
กลับถือเป็นชัยชนะของตระกูล "พรประภา" มากกว่า ซึ่ง "พรเทพ พรประภา"
เองก็พยายาม พูดอยู่เสมอ.....การขายหุ้นครั้งนี้เป็นนโยบาย WIN-WIN
(ผู้จัดการรายวัน 7 เมษายน 2547)
ยนตรกิจพลิกนโยบายจับ3ยี่ห้อทำรถพาณิชย์
กลุ่มยนตรกิจปรับนโยบายครั้งใหญ่ เลิกฝากธุรกิจในมือไว้กับรถหรูเพียงอย่างเดียว
เปิดโปรเจกต์ใหญ่สยายปีก รุกทำตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ หวังลดความเสี่ยงทางธุรกิจ
ด้วยการจับ 3 ยี่ห้อในเครือซีตรอง เปอโยต์ และเกีย ทำตลาดรถตู้อเนกประสงค์เล็ก
และปิกอัพ
(ผู้จัดการรายวัน 13 สิงหาคม 2546)
ยนตรกิจโด๊ปยารถหรู ดึงมิทสึโอกะปักฐานไทย
ดึงญี่ปุ่นร่วมทุนเปิดไลน์ประกอบในประเทศ ดันภาพลักษณ์ศักยภาพการประกอบรถยนต์ของโรงงานที่มีอยู่ เนื่องจากมิทสึโอกะ เป็นรถยนต์ประเภท hand-made ของญี่ปุ่น ขณะเดียวกัน เตรียมปักธงแบรนด์ดังกล่าวในเมืองไทยด้วยการตั้งโชว์รูมถาวรบนถนนพระราม 9 ตั้งเป้าให้แบรนด์เป็นที่ยอมรับของตลาด
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 ตุลาคม 2553)
ยนตรกิจปูทางกลับมาใหญ่ เติมกลยุทธ์มัลติแบรนด์ตลาดล่าง
ฟื้น “ยนตรกิจ กรุ๊ป” ด้วยกลยุทธ์มัลติแบรนด์ ซีซันใหม่ ตลาดบนยังคงคลาครั่งไปด้วยรถยนต์แบรนด์ยุโรปที่เคยทำตลาดในอดีต แต่ที่น่าสนใจคือตลาดล่าง ถูกปูพรมด้วย 3 แบรนด์ใหม่จากจีน คือ จีลี่ ,โพลารสัน และ เฌอรี่ รวมถึงรถยนต์ นาซ่า ราคาถูกจากมาเลเซีย และแบรนด์ เกีย จากเกาหลี พร้อมขาธุรกิจใหม่ด้วยการเป็นตัวแทนจำหน่ายให้กับรถยนต์ยี่ห้ออื่นๆ ทั้งบีเอ็มดับเบิลยู, มิตซูบิชิ, ฟอร์ด และมาสด้า ทั้งหมดนี้อาจทำให้ยนตรกลับมายิ่งใหญ่ในฐานะกงสีธุรกิจยนต์อีกครั้ง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มกราคม 2552)
ยนตรกิจดันเกียฝ่าพงหนามตลาดรถนั่งเล็ก
-เกีย PICANTO- RIO ปฏิบัติการชิมรางฟื้นตลาดรถนั่งเกาหลีในเมืองไทย
-ยนตรกิจหวั่นปัจจัยด้านราคาอาจทำให้แข่งขันรถญี่ปุ่นลำบาก เหตุไม่มีไลน์ผลิตในประเทศ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 มีนาคม 2549)
ซีตรองย้ำความสำเร็จ เตรียมโชว์รถเด่นสองงานใหญ่
เอาใจผู้หลงใหลความหรูหราเหนือระดับของยนตรกรรมมาตรฐานยุโรป ในงาน “Bangkok International Motor Show” ครั้งที่ 30 ซึ่งจะจัดขึ้น ณ ศูนย์แสดงสินค้าไบเทค บางนา และศูนย์การค้าสยามพารากอน บริเวณ Hall of Fame ชั้น M ระหว่างวันที่ 26 มีนาคม ถึง 6 เมษายน 2552
(ซิลเลเบิล, บจก. )
ยนตรกิจ กรุ๊ปเดินหน้านำมิตซูโอกะบุกตลาดรถเมืองไทย
บริษัท มิตซูโอกะ มอเตอร์ จำกัด ได้เซ็นสัญญาแต่งตั้ง ยนตรกิจ กรุ๊ปเป็นผู้นำเข้าและ จัดจำหน่ายรถยนต์มิตซูโอกะแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย พร้อมเปิดโชว์รูมแห่งแรกบนเลขที่ 78 ถนนเพชรพระรามเก้า ตั้งแต่วันจันทร์ - วันเสาร์
(ซิลเลเบิล, บจก. 26 มีนาคม 2551)