หงษ์หยก ปักหลักธุรกิจพัฒนาที่ดิน
ธุรกิจ"ตระกูลหงษ์หยก"เริ่มต้นไม่ค่อยจะแตกต่างจากธุรกิจของตระกูลสำคัญในภูเก็ตมากนัก
จากการทำเหมืองแร่และสวนยางพารา แล้ว ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ไปสู่ธุรกิจพัฒนาที่ดินและตัวแทนการค้าธุรกิจ
ส่วนกลาง ด้วยภูเก็ตเป็นเมืองท่องเที่ยว ผลกระทบวิกฤติเศรษฐกิจจึงไม่ รุนแรงนัก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
ป่าพรุที่หาดไม้ขาว ทาบทับด้วยเงาของหงษ์หยก
ป่าพรุหรือป่าทางภาคใต้ที่อยู่ในที่ลุ่มมีน้ำขังทั้งบนผิวดินหรือใต้ดิน
ป่าพรุที่ภูเก็ตกำลังเป็นข้อพิพาทที่อยู่บนพื้นฐานความขัดแย้งระหว่างแนวความคิดเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติ
และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่อยู่ภายใต้ข้ออ้างเรื่องการพัฒนาท้องถิ่นให้เจริญ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
โอมี่ หงษ์หยก ไทคูนหนุ่มแห่งภูเก็ต
"หงษ์หยก" เป็นตระกูลเก่าแก่ที่สุดตระกูลหนึ่งของภูเก็ต โดยต้นตระกูลคือหลวงอนุภาษภูเก็ตการผู้เป็นตำนานนายเหมืองใหญ่
แห่งเมืองภูเก็ตด้วยการริเริ่มทำเหมืองสูบเป็นรายแรกในไทยและเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทจินหงวนในปี
2482 ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท อนุภาษและบุตรในปี 2485
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
อสังหาเกาะภูเก็ตฮิตไม่เลิกบ้านระดับกลาง-บนผุดเพียบ
บ้านหรู-บ้านระดับกลางในภูเก็ตผุดขึ้นเป็นดอกเห็ด ร่วม 100 กว่าโครงการต่อไป รับกลุ่มลูกค้าทั้งชาวไทยที่เข้ามาทำงานในภูเก็ตและคนต่างชาติ ที่ต้องการบ้านหรูไว้พักผ่อนหนีหนาวและอยู่ในช่วงเกษียณอายุ ส่งผลตลาดโตต่อเนื่อง ในราคาตั้งแต่ 1-4 ล้านบาท และราคาตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 เมษายน 2549)