Capital OK กำลังจะ "มาแรง"?
ความที่เป็นบริษัทน้องใหม่ในเครือชินคอร์ป ทำให้ทุกคนล้วนจับตา Capital OK ว่าจะเป็นผู้เล่นที่เข้ามาสร้างสีสันให้กับตลาด consumer finance ได้เหมือนกับที่ KTC เคยทำไว้เมื่อเกือบ 2 ปีก่อน แต่ทำไปทำมา กลับเงียบผิดปกติ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
New Player
ด้วยตัวเลขลูกค้าที่มีอยู่ในมือถึง 12 ล้านราย ทำให้ชินคอร์ปมีความมั่นใจอย่างยิ่งในการรุกเข้าไปทำธุรกิจ Consumer Finance ในที่สุด บทสรุปสำหรับการทำธุรกิจ Consumer Finance ของกลุ่มชินคอร์ปอเรชั่น ก็มาลงเอยที่การร่วมทุนกับธนาคารดีบีเอสจากสิงคโปร์ เปิดบริษัทแคปปิตอล โอเค ด้วยทุนจดทะเบียนขั้นต้น 1,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
KBANK's Outsourcing Case Study อีกเรื่องของธนาคารไทย
"มันก็เห็นว่าโจทย์คืออะไร เห็นอยู่ว่าคอขวดอยู่ตรงไหน ถึงจุดหนึ่งมันก็ปิ๊งขึ้นมาว่า
มันต้องมีทางออกสิ เราไม่ใช่คนแรกในโลก แต่เราเป็นคนแรกในเมืองไทยที่ทำในสเกลใหญ่
สเกลก็คือยกให้ไปหมด ไทยทนุทำแค่ 20 คน แต่ดีบีเอส เวิลด์ไวด์ เซ็นสัญญาวันเดียวกับเรา
แต่ตอนนั้นเราไม่ได้ทำข่าวใหญ่ ดีบีเอสทำเป็นข่าวใหญ่ แต่จริงๆ แล้วเซ็นพร้อมกัน
ผมเชื่อเลยว่าอีกไม่นานก็จะต้องมีคนทำตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
SHIN ฮุบแคปปิตอล โอเค บอร์ดให้ซื้อจากดีบีเอส แบงก์ฯ
SHIN ฮุบ แคปปิตอล โอเค หลังบอร์ดอนุมัติซื้อหุ้นที่เหลือเพิ่มจากเดิมที่ถืออยู่ 24.69% เป็น 99.99% โดยซื้อจากดีบีเอส แบงก์ ลิมิเต็ด ส่วนเงื่อนไขการชำระเงินผู้ถือหุ้นรายย่อย 10 ล้านหุ้น ราคาหุ้นละ 66.5 บาท รวมทั้งสิ้น 665 ล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 4 ตุลาคม 2549)
RAIMONปล่อยกู้ให้บ.ลูกพร้อมขายที่นำเงินไปชำระหนี้
RAIMON ปล่อยเงินกู้ช่วย "ไรมอน ทาวเวอร" ซึ่งเป็นบริษัทลูก ด้วยการให้ยืมเงิน
115.8 ล้านบาท เพื่อนำไปซื้อที่ดินมาพัฒนา พร้อมตัดขายที่ดินนำเงินใช้หนี้ บสท.
350 ล้านบาท และยังนำหน่วยลงทุนกองทุนอสังหาริมทรัพย์จำนำกับ DTDB ค้ำประกันเงินกู้
500 ล้านบาท มาพัฒนาโครงการเดอะ เลคส์ หวังเป็นตัวทำเงินในยามธุรกิจเฟื่อง
(ผู้จัดการรายวัน 23 มิถุนายน 2546)