"โอกาส" ที่เกิดขึ้นในวิกฤติ
พอดีกับสถานการณ์ไข้หวัดนกพ่นพิษ ทำเอาการส่งออกสะดุดจนเศรษฐกิจเริ่มซวนเซ
งานสัมมนา Owen G. Kenan ประจำปี 2547 ที่ถูกจัดขึ้นในหัวข้อ "อุตสาหกรรมอาหารไทย
: สิ่งท้าทายและโอกาสในตลาดโลก" เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2547 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
โดยสถาบันคีนันแห่งเอเชีย เป็นเจ้าภาพหลัก จึงได้รับความสนใจอย่างล้นหลามจนเก้าอี้แทบไม่พอ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
เกมที่เปลี่ยนแทบทุกวัน
21 เม.ย.
- ศาลล้มละลายกลางมีคำพิพากษาถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์ส (EPL) ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ
TPI เนื่องจากเห็นว่าไม่สามารถบริหารได้ตามแผน และได้แต่งตั้งประชัย เลี่ยวไพรัตน์
ผู้บริหารเดิมร่วมกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.) เป็นผู้บริหารแผนชั่วคราว
ก่อนให้เจ้าหนี้ลงมติคัดเลือกผู้บริหารแผนรายใหม่ภายใน 30 วัน อย่างไรก็ตาม
EPL ยังเป็นผู้บริหารแผนของบริษัทในเครือ TPI อีก 6 แห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
บัณฑูร ล่ำซำ-สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
มีเรื่องราวของคนสองคนที่สมควรกล่าวถึง ในฐานะที่เป็น Role Model ของสังคมธุรกิจไทย
(รายละเอียด โปรดอ่านจากนิตยสารผู้จัดการฉบับที่แล้ว) ในฐานะที่มีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างน่าสนใจ
ทั้งสองมีอายุไล่ เลี่ยกัน โดยบัณฑูร ล่ำซำ (2496) มีอายุมากกว่า สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
(2498) อยู่ 2 ปี ซึ่งถือ ว่าเป็นคนรุ่นเดียวกันในสังคมไทย แต่ทั้งสองกลับมีจุดเริ่มต้นในฐานะที่แตกต่างกันอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2545)
“สมคิด จาตุศรีพิทักษ์” Political Brand
“สมคิด จาตุศรีพิทักษ์” เป็นบุคคลที่ใครได้ยินชื่อแล้ว เกิดความรู้สึกได้ทั้งความมั่นใจและความรู้สึกระแวงแคลงใจ อย่างที่พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีพิสูจน์มาแล้วกับ “นักกลยุทธ์มาร์เก็ตติ้ง” คนนี้ หรือแม้แต่รัฐบาลขิงแก่ ก็เกือบย่ำแย่เพราะถูกเกมของ “สมคิด” วางหมากจนปั่นป่วน หรือกระทั่งล่าสุดหัวหน้ากลุ่มมัชฌิมา “สมศักดิ์ เทพสุทิน” ที่รู้สึกเชื่อมั่นสุดๆ กับแบรนด์ “สมคิด”ที่หวังให้เป็นจุดขาย ก็ยังต้องลุ้นไปกับการตัดสินใจของ “สมคิด” ว่าพร้อมร่วมก๊วนเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่จะตั้งขึ้นใหม่หรือไม่
(Positioning Magazine มิถุนายน 2550)
นักกลยุทธ์ “สมคิด จาตุศรีพิทักษ์”
“พรรคไทยรักไทยเหรอ ไม่ต้องถึงกับรีแบรนด์หรอก แค่เปลี่ยนสินค้าใหม่ ที่อยู่ในชั้นของเก้าอี้นายกรัฐมนตรี จาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มาเป็นคนอื่น อย่างดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ก็ได้แล้ว” เกจิอาจารย์นักการตลาดคนหนึ่งให้ความเห็น ท่ามกลางกระแสต้านระบอบทักษิณ ตั้งแต่ต้นปี 2549
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2549)
เมืองไทยรายสัปดาห์ “ชาเขียว” ฟีเวอร์
ปรากฏการณ์ฟีเวอร์ “ เมืองไทยรายสัปดาห์ ” ที่นับวันยิ่งแรงมากขึ้นเรื่อยๆ หากมองในมิติโปรดักส์ที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็ว Key of success กุญแจแห่งความสำเร็จ สามารถอธิบายภาพในมิติทางการตลาด ที่นักวิชาการเปรียบเทียบว่า คล้ายกับกระแสชาเขียว ซึ่งเป็นเครื่องดื่มสุขภาพที่ฮอตที่สุดในเวลานี้แต่ยังอยู่บนการตลาดความเสี่ยง (risky marketing)
(Positioning Magazine ธันวาคม 2548)
สมคิดรับน้ำมันกระทบศก.เอกชนวอนรัฐอุ้มSMEs
"สมคิด"เปรยยอมรับความจริงปัจจัยลบ"น้ำมัน-การเมือง"กระทบเศรษฐกิจ แนะรัฐบาลดูแลเงินคงคลังให้เหมาะสมหลังภาษีรายได้หลังลด ระบุจีดีพีโตเท่าไหร่ไม่สำคัญขอแค่ให้โตขึ้นพอ ขณะที่"ประเสริฐ" เผยหากเกิดสงครามขึ้น น้ำมันทะลุ 100 เหรียญแน่นอน ด้านก้องเกียรติ ชี้ภาครัฐ-เอกชนต้องสร้างความน่าสนใจดึงเม็ดเงินต่างชาติลงทุนเพิ่ม เตรียมปรับเป้าดัชนีตลาดหุ้นปีนี้ลดลง "สภาอุตฯ" วอนรัฐช่วยเหลือธุรกิจขนาดกลาง-เล็กต่อสู้ภาวะการแข่งขัน
(ผู้จัดการรายวัน 27 เมษายน 2549)
"สมคิด"อ้อนประกันลงทุนหุ้น หลังเงินจมในตลาดตราสารหนี้
"สมคิด" จี้ธุรกิจประกันชีวิต และประกันภัยปรับโครงสร้างความเข้มแข็งธุรกิจให้มากขึ้น รองรับการเปิดเสรีภาคการบริการที่จะเกิดขึ้นในเร็วๆ นี้ ไม่ใช่จะรอมาตรการภาษีจากภาครัฐเพียงอย่างเดียว พร้อมเปิดช่องให้ธุรกิจประกันลงทุนในตลาดหุ้นเพิ่มขึ้นได้ แนะกรมการประกันภัยประชุมหารือภาคธุรกิจสร้างความแข็งแกร่งธุรกิจก่อนหามาตรการเสริม
(ผู้จัดการรายวัน 10 พฤศจิกายน 2548)
จี้ลงโทษหนักเอกชนทุจริตล้างบ้านรับกระแสลงทุนเข้าไทย2ปีข้างหน้า
"สมคิด" เชื่อ 2-3 ปีหน้ากระแสการลงทุนจะมุ่งเข้ามาในไทย แนะเร่งกำจัดคอร์รัปชั่นภาคธุรกิจทั้งในและนอกตลาดหุ้นแม้ไทยสอบผ่านบรรษัทภิบาล ใครไซฟ่อน-ตกแต่งบัญชี ให้ใช้บทลงโทษรุนแรง ระบุ BOI ปรับนโยบายให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามธุรกิจ เชื่อ"หวัดนก"กระทบจีดีพีแค่เล็กน้อย
(ผู้จัดการรายวัน 27 ตุลาคม 2548)
“ดร.สมคิด” แนะ 4 กลยุทธ์ พลิกบริบทไทยให้ทันการแข่งขัน
4 องค์ประกอบเปลี่ยนบริบทประเทศไทยมิติใหม่ ระบุต้องสร้างคน รู้ทันเทคโนโลยี ปัดฝุ่นส่งเสริมงานวิจัยเป็นระบบ พร้อมทะลายกำแพงความเหลื่อมล้ำทุกด้าน ชี้อย่าพอใจเป็นแค่ เป็น“ฐานการผลิต”เพราะอนาคตจะหาที่ยืนบนโลกการแข่งขันไม่ได้ รัฐบาลต้องเอาจริงส่งเสริมผู้ประกอบการายใหม่ให้เกิดขึ้นเพื่อเป็นฐานสู้กับต่างชาติ
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 กันยายน 2553)
ปรับยุทธศาสตร์ธุรกิจ เพิ่มความสามารถเวทีโลก
เสริมสร้างขีดความสามารถประเทศไทยบนเวทีโลก ยังไม่ไกลเกินเอื้อม ถ้ารู้จักปรับวิธีคิด บ่มเพาะไอเดียสร้างสรรค์ และเติมเต็มคุณค่าที่นอกเหนือจากคุณภาพคับแก้ว
3 คำบอกเล่าของนักธุรกิจแถวหน้าแห่งวงการโทรคมนาคม อสังหาริมทรัพย์ และแวดวงตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มาช่วยกันกระทุ้งคุ้ยแคะต่อมยุทธศาสตร์ธุรกิจให้เดินถูกที่ถูกทาง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 ธันวาคม 2548)
ส่งสัญญาณผู้ประกอบการ ไทย-อิตาลีส่อแววรุ่ง รัฐรุกคืบสร้างพันธมิตร
นับเป็นความพยายามที่จะส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สำหรับรัฐบาลซึ่ง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นผู้นำคณะได้เดินทางไปประเทศอิตาลี และลงนามบันทึกความเข้าใจ ที่กรุงโรม เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2544
จึงเป็นจุดเริ่มให้เกิดการสานต่อความสัมพันธ์ระหว่างกันโดยการตั้งคณะทำงานไทย-อิตาลีด้านความร่วมมือเอสเอ็มอี ครั้งที่1 นำมาสู่การพบปะกันที่กรุงเทพฯ โดยสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการจัดการประชุม 1th Thai-Italian Working Group on SMEs Cooperation and Thai-Italian Business Forum ในวันที่ 10-11 พฤศจิกายน 2548
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 พฤศจิกายน 2548)
“สมคิด” นำทีมหารือแนวทางการส่งเสริมการลงทุนกับ “ฮิตาชิ”
นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ หารือร่วมกับ นายฮิโรอากิ นากานิชิ ประธานคณะกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัทฮิตาชิ โกลบอล สตอเรจ เทคโนโลยีส์ จากญี่ปุ่นในการแลกเปลี่ยนความเห็น และแนวทางในการส่งเสริมการลงทุนการผลิต HDD ร่วมกัน
(คิธ แอนด์ คิน คอมมิวนิเคชั่น แอนด์ คอนซัลแตนท์, บจก. 1 กันยายน 2549)