"ซอมเมอร์ส ยูเค" กองทุนวิกฤติ
ก่อนหน้านี้ไม่มีใครรู้ว่า Sommers UK เป็นใครมาจากไหน มีเพียงการร่ำลือว่าเป็นบริษัทที่บุญชัยและภูษณตั้งขึ้นมา เพื่อเข้ามาซื้อหุ้นในยูคอม เพื่อต้องการรักษาสัดส่วนหุ้นไว้ นอกจากนี้ก็จะรู้แต่เพียงว่าเป็นกองทุนการเงินจดทะเบียนในประเทศอังกฤษที่เข้ามาแปลงหนี้ของยูคอมเป็นทุน และกลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่ถือครองหุ้นไว้ 36% มากกว่าตระกูลเบญจรงคกุล ที่ต้องกลายเป็นผู้ถือห้นอันดับ 2
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
Thai Art Museum ในยูคอม
ความสุขของ บุญชัย เบญจรงคกุล ไม่ใช่แค่เป็นเพียงเจ้าของผลงานภาพเขียนชั้นยอด แต่เขายังเป็นเจ้าของศิลปกรรมชิ้นเอกทุกแขนงของศิลปินชั้นครูของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
“พอเพียง” กวาดเรตติ้ง
แม้ตัวจะไปแล้ว แต่ใจยังอยู่ ต้องยกให้กับ ”บุญชัย เบญจรงคกุล” อดีตผู้ถือหุ้นใหญ่ในดีแทค และไม่เพียงแต่ ”บุญชัย” เท่านั้นที่ใจไม่ไปไหน สำหรับผู้ถือหุ้นใหม่ของดีแทคอย่างกลุ่มเทเลนอร์ ที่ส่ง ”ซิคเว่ เบรกเก้” มาดูแล ก็ประสานใจเต็มที่กับ ”บุญชัย”
(Positioning Magazine ธันวาคม 2549)
คำสอน “ในหลวง” จุดเปลี่ยนชีวิต บุญชัย เบญจรงคกุล
จากนักธุรกิจ และผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัทสื่อสารยักษ์ใหญ่ของประเทศไทยที่รู้จักกันดีในชื่อ ”ยูคอม” และ ”ดีแทค” มีชีวิตประจำวันในห้องประชุม อยู่กับการตัดสินใจ กู้เงินมาลงทุน การสั่งจ่ายเงินจัดซื้ออุปกรณ์ และรับรายได้มูลค่านับหมื่นล้านบาท ไม่เพียงนั่งรถยนต์แบรนด์ดังจากยุโรป แต่ยังมีเครื่องบินเจ็ทส่วนตัว ติดอันดับต้นๆ ในทำเนียบเศรษฐีเมืองไทย และร่วมสังสรรค์งานดินเนอร์หรูทั้งเพื่อธุรกิจและงานสังคม
(Positioning Magazine ธันวาคม 2549)
“บุญชัย” เชื่อรัฐต้องแปรสัมปทานสอนมวยทีโอทีไม่ควรแข่งเอกชน
“บุญชัย” เชื่อรัฐต้องมีการแปรสัญญาสัมปทานโทรคมนาคมเป็นหุ้น ใช้เม็ดเงินไปลงทุนอย่างอื่น ในแบบเศรษฐกิจพอเพียง เห็นพ้องกับประธาน กทช. ให้ทีโอทีลงทุนโครงข่ายหลัก แนะไม่ควรแข่งกับเอกชน เพราะขาดความคล่องตัว ชี้จำเป็นต้องขายหุ้นทิ้ง กลัวสูญพันธุ์เพราะสิงเทลครอบครองเน็ตเวิร์ก หากดัมป์ราคาดีแทคเจ๊ง
(ผู้จัดการรายวัน 9 พฤศจิกายน 2549)
บุญชัยเปิดบ.เศรษฐกิจร่วมด้วยช่วยกัน ใช้ 200 ล้านสร้างบริการ 3G รากหญ้า
"บุญชัย" เปิดบริษัท เศรษฐกิจร่วมด้วยช่วยกัน ใช้เงิน 200 ล้านบาทสร้างศักยภาพเชิงธุรกิจให้กลุ่มเกษตรกร รวมตัวกันสร้างเครือข่ายชุมชนทั่วประเทศ วางแผนขอไลเซนส์บริการ 3G ระดับรากหญ้า เปิดภาพยนตร์สั้นเรื่องใหม่ความร่วมมือโครงการสำนึกรักบ้านเกิดกับ ดีแทค ที่เน้นแผ่นดินธรรม แผ่นดินทอง สนองพระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง
(ผู้จัดการรายวัน 20 ธันวาคม 2548)
บุญชัยขายยูคอม 9 พันล้าน
"เบญจรงคกุล" ปิดฉากตำนานผู้ให้บริการทางด้านโทรศัพท์มือถือ เปิดทางเทเลนอร์เข้ากุมหุ้นใหญ่ UCOM ผ่านบริษัท เทลโค โฮลดิ้งส์ ส่วนคนไทยถือ 59% อาทิ "เบญจรงคกุล10% -ฟินันซ่า 10% " พร้อมยื่นขอเสนอซื้อสินทรัพย์หลักมูลค่ากว่า 1.5 พันล้านบาทเพื่อลุยธุรกิจไอทีเต็มสูบผ่านบริษัทใหม่ "เบญจจินดา" ด้าน"บุญชัย" อดีตบิ๊กลาออกเหลือเพียงตำแหน่งประธานบอร์ด "ดีเทค" ขณะที่ "วิชัย" ผู้น้องออกจากทุกตำแหน่ง ตลท.สั่งห้ามซื้อขายหุ้น UCOM 2 วัน
(ผู้จัดการรายวัน 21 ตุลาคม 2548)
บุญชัยทิ้งยูคอม จังหวะดีที่สุด
19 ตุลาคม 2548 เป็นวันที่สำคัญยิ่งอีกหนึ่งวันสำหรับอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย
เป็นวันที่ตระกูล “เบญจรงคกุล” ผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัทยูคอม (ซึ่งยูคอมคือผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท TAC ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่อันดับสอง เจ้าของแบรนด์ DTAC) ขายหุ้นในมือทั้งหมดออกไปให้แก่บมจ.ไทย เทลโค โฮลดิ้งส์ ในมูลค่าทั้งสิ้น 9,200 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วน 39.9%)
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 พฤศจิกายน 2548)
"เบญจรงคกุล" ถอยเพื่อรุก
ปิดฉากตำนานยุคแรกของตระกูลเบญจรงคกุลในธุรกิจโทรคมนาคมของประเทศไทย ด้วยการถอดหุ้นและสายบริหารออกทั้งหมด แต่ทว่าบทบาทใหม่ของตระกูลกลับเริ่มต้นขึ้นอีกครั้งหลังจากนี้ไป ซึ่งถูกมองว่า เป็นบทบาทที่ "พี่ใหญ่" บุญชัย เบญจรงคกุลตั้งปฎิภาณที่ลงแรงไปแล้วเมื่อ 8 ปีก่อน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 ตุลาคม 2548)
ตัวตนของ "บุญชัย เบญจรงคกุล"
ถึงเวลานี้หลายคนอาจจะยังไม่รู้จักตัวตนที่แท้จริงของผู้ชายชื่อ "บุญชัย เบญจรงคกุล" ผู้ที่ทำให้วงการโทรศัพท์มือถือต้องช็อกไปตามๆ กัน จากการขายหุ้นที่ตระกูลเบญจรงคกุลถือหุ้นอยู่ทั้งหมดในบริษัท ยูไนเต็ดคอมมูนิเกชั่น จำกัด(มหาชน) หรือยูคอม ให้กับบริษัท ไทย เทลโค โฮลดิ้งส์ จำกัด ซึ่งถือหุ้นใหญ่ โดย "เทเลนอร์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 ตุลาคม 2548)
DTAC ขอแนะนำ 2 ดีเจน้องใหม่....
คนหนึ่งเป็นผู้ก่อตั้งดีแทค ส่วนอีกคนเป็นซีอีโอของดีแทคในปัจจุบัน เจ้าของวลีฮิต “จะจัดให้คร้าบ” โคจรมาพบกันแต่ละครั้งก็มักจะเป็นข่าวใหญ่ แต่ครั้งนี้มาแปลกสักนิดเพราะทั้งคู่ชวนกันสวมบท “DJ พี่ใหญ่” และ “DJ พี่ซิคเว่” จัดรายการสอนภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตประจำวันแนวครื้นเครง ทางเครือข่ายวิทยุแฮปปี้ร่วมด้วยช่วยกันทั้ง 23 สถานี
(โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น, บมจ. 4 กรกฎาคม 2550)