โลกใบใหม่ของสามารถ
กลุ่มสามารถตัดสินใจทิ้งธุรกิจโทรศัพท์มือถือ และเคลื่อนย้ายองค์กรเข้าสู่การเป็นองค์กรอินเตอร์เน็ต นับได้ว่าเป็นความกล้าหาญของตระกูลวิไลลักษณ์ และของผู้บริหารกลุ่มสามารถที่มากกว่าครั้งใดๆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
ธนานันท์ วิไลลักษณ์ กับอาณาจักรส่วนตัวนอกกลุ่มสามารถ
เมื่อพูดถึงกลุ่มสามารถหลายคนนึกถึง เจริญรัฐ-ธวัชชัย สองพี่น้องแห่งตระกูลวิไลลักษณ์
ผู้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงรับบริหารงานของกลุ่มต่อจากเชิดชัยผู้เป็นพ่อ ซึ่งก่อตั้งกลุ่มสามารถจากธุรกิจเริ่มแรกที่ขายเสาอากาศโทรทัศน์จนเติบโตมาสู่ธุรกิจขายจานดาวเทียม
และล่าสุดกับอิเล็กทรอนิกส์ คอมเมิร์ช และอิเล็กทรอนิกส์ มีเดีย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
ซื้อไอ-โมบายเหมือนได้ “บี้”
ออดอ้อนได้ใจขนาดนี้ต้องยกให้ “บี้” ที่ “แกรมมี่” สามารถปั้นจนเป็นขวัญใจตลาด Mass ทั้งสาวน้อย สาวใหญ่พากันกรี๊ดกันสนั่นเมือง และกลุ่มนี้เองที่เป็นเป้าหมายหลักของ “ไอ-โมบาย” นับจากนี้
(Positioning Magazine กรกฎาคม 2551)
เฮาส์แบรนด์คัมแบ็กเปิดเกมชิงตลาดอินเตอร์แบรนด์
- อุณหภูมิตลาดโทรศัพท์มือถือระอุ "มือถือจีน" "เฮาส์แบรนด์หน้าใหม่" เปิดศึกฟีเจอร์พื้นๆ "ทีวีโมบาย" ซื้อใจลูกค้า
- ก่อนปล่อยหมัดเด็ด "มาร์จิ้น" จูงใจ "ลูกตู้" แปรพักตร์อินเตอร์แบรนด์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 20 ตุลาคม 2551)
"ไอ-โมบาย" แจ็คผู้ฆ่ายักษ์เสี้ยนหนามมือถือระดับโลก
* ผ่ากลยุทธ์ "ไอ-โมบาย" ประกาศศักดิ์ศรีมือถือแบรนด์ไทย ยืนเหนือคู่แข่งระดับโลก
* เสี้ยนหนามใหญ่ที่ทุกค่ายมือถือไม่อาจมองข้าม หลังประสบความสำเร็จท่วมท้นในปี 49
* วางเป้าหมายสำคัญโลคัลแบรนด์อันดับหนึ่งในทุกประเทศที่ไอ-โมบายเข้าทำตลาด
* และนี่คือแจ๊คผู้ฆ่ายักษ์ตนใหม่แห่งวงการโทรศัพท์มือถือ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 มกราคม 2550)
'ไอ-โมบาย' แบรนด์ไทยใส่เกียร์ความคิดอินเตอร์
- คัมภีร์ธุรกิจการจัดการตลาดมือถือแบรนด์ไทย "ไอ-โมบาย"
- 3 วิธีคิดบนหลักการ I ตอบโจทย์ความต้องการลูกค้า Information-Interactive-Individual
- วิธีคิดแน่นหนาแข็งแรงที่นำไปสู่ยอดขาย 1 ใน 5 ของตลาดโทรศัพท์มือถือ
- วิสัยทัศน์ regional brand สร้างความสำเร็จยกกล่องจากโมเดลเมืองไทย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 พฤษภาคม 2549)