Technology Service Provider บริบทใหม่ของสามารถ กรุ๊ป
กว่าครึ่งศตวรรษที่บริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) โลดแล่นอยู่ในธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมมาโดยตลอด ทำให้ธุรกิจที่ผ่านมาตกอยู่ในความ "เสี่ยง" แต่จากนี้ไปสามารถกรุ๊ปกำลังดึงตัวเองไปสู่ธุรกิจเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ธุรกิจใหม่ของกลุ่มสามารถที่เริ่มต้นจากศูนย์ แต่เป็นบริษัทไทยรายแรกที่กระโดดเข้าสู่ตลาดแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
โลกใบใหม่ของสามารถ
กลุ่มสามารถตัดสินใจทิ้งธุรกิจโทรศัพท์มือถือ และเคลื่อนย้ายองค์กรเข้าสู่การเป็นองค์กรอินเตอร์เน็ต นับได้ว่าเป็นความกล้าหาญของตระกูลวิไลลักษณ์ และของผู้บริหารกลุ่มสามารถที่มากกว่าครั้งใดๆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
เจริญรัฐ วิไลลักษณ์ โอกาสในเขมรที่มีมากกว่าในเมืองไทย
แม้ว่ากลิ่นอายของสงครามล้างเผ่าพันธุ์ที่สร้างความสะเทือนมาเกือบ 20 ปี อาจยังไม่หลงเหลือให้เห็นอยู่ในกรุงพนมเปญของกัมพูชาแล้วก็ตาม ยกเว้นสถานที่บางแห่งที่กลายเป็นตำนานความโหดร้ายยังคงตราตรึงอยู่ในความทรงจำอันขมขื่นของชาวเขมร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
พิพิธภัณฑ์ “อังกอร์” ในเมืองของอดีตสิ่งมหัศจรรย์ของโลก
ไม่บ่อยนักที่ “พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ” จะบริหารงานโดยเอกชน แถมเป็นเอกชนข้ามชาติด้วย อย่างเช่น พิพิธภัณฑ์ “อังกอร์” เมืองเสียบเรียบ ที่ตั้งของนครวัด ที่รัฐบาลกัมพูชาได้มอบหมายให้ตระกูลวิไลลักษณ์ เจ้าของกลุ่มบริษัทสามารถของไทย เป็นผู้รับสัมปทานก่อสร้างและบริหาร พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ในเมืองที่ได้ชื่อว่าเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก
(Positioning Magazine สิงหาคม 2550)
"สามารถ" รีแบรนดิ้ง ดันยอดทะลุหมื่นล้าน
สามารถรีแบรนดิ้งใหม่ มุ่งเน้นธุรกิจ Infocom ครบวงจรหลังเข็ดขยาดกับโครงการโทร-คมนาคมขนาดใหญ่
ยันปีนี้รายได้ทะลุ 1 หมื่นล้านบาท เตรียมดันกลุ่มธุรกิจไอ-โมบาย มัลติมีเดียเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ
พร้อมคืนสัมปทานโพสต์เทลให้กรมไปรษณีย์โทรเลข
(ผู้จัดการรายวัน 16 กรกฎาคม 2546)