ก้าวที่สองของ "นายสนุก"
ช่วงเวลาที่เอ็มเว็บซื้อเว็บไซต์ sanook.com เมื่อเดือนพฤษภาคม 2542
ว่ากันว่า ดีลครั้งนั้นไม่น่าจะต่ำกว่า 50 ล้านบาท เป็นช่วงที่การทำเว็บไซต์ในเมืองไทยยังเป็นของใหม่
เป็นงานอดิเรกที่ทำกันในยามว่าง ปรเมศวร์ มินศิริ กลายเป็นสัญลักษณ์ของความสำเร็จ
เป็นตัวแทนคนรุ่นใหม่ที่ประสบความสำเร็จจากงานอดิเรก
ที่ทำเล่นๆ ยามว่าง เพียงชั่วเวลาข้ามคืน ซึ่งธุรกิจโลกใบเก่าไม่มี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
เอ็มเว็บ นักซื้อกิจการ
ภายหลังการซื้อ sanook.com เมื่อกลางปี 2542 ได้เพียงไม่นาน เอ็มเว็บก็สามารถสร้างภาพสายสัมพันธ์ และวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันกับบุคลากรท้องถิ่นได้อย่างแนบแน่น ควบคู่ไปกับการซื้อเว็บไซต์หลายต่อหลายแห่ง และการรุกเข้าสู่ธุรกิจไอเอสพี ความเคลื่อนไหวเหล่านี้เป็นเพียงจิ๊กซอว์บางส่วนของภาพใหญ่ ที่มีปลายทางที่ตลาดหุ้นแนสแดค
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
เรื่องเล่น ๆ ที่เป็นเงิน
บรรดานักโต้คลื่นชาวไทยบนอินเตอร์เน็ตหลายคนคุ้นเคยกับเว็บไซต์ (pantip.com) หรือ
(sanook.com) เพราะ มันเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันบนเว็บไปแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
คลิกเดียวจุดติด “ม็อบเฟซบุ๊ก”
“เฟซบุ๊ก” กลายเป็นสื่อที่สร้าง “คนเสื้อหลากสี” นับแสนคนได้เพียงคลิกเดียว นี่คือปรากฏการณ์ที่สะท้อนถึงพลังความแข็งแกร่งของ “โซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค” ที่สำเร็จได้จากการเลือกเพื่อนคอเดียวกัน โพสต์รูป คอมเมนต์ และหาชื่อกลุ่ม และในทางกลับกันได้ตอกย้ำถึงความอ่อนแอของสื่อเก่าอย่างทีวีและวิทยุอีกครั้งท่ามกลางสถานการณ์ความรุนแรงทางการเมือง
(Positioning Magazine พฤษภาคม 2553)
ปรเมศวร์ มินศิริ มิสเตอร์กระปุกถึงทวิตเตอร์
“ผมน่าจะเป็นคนแรกในไทยที่รู้จัก Twitter” ปลายปี 2549 ณ เมืองซานฟรานซิสโก ปรเมศวร์ มินศิริ ผู้ก่อตั้งและบริหาร kapook.com เดินอยู่ในงาน “Web 2.0 Expo & Conference 2006” และกำลังตื่นตาตื่นใจกับจอยักษ์รอบงานที่มีผู้คนพากันยืนส่งข้อความสั้นทั้งจากคอมพิวเตอร์และมือถือขึ้นไปไม่หยุดหย่อน และนั่นคือครั้งแรกที่เว็บ Twitter เปิดตัวขึ้นในโลกด้วยการเป็นสปอนเซอร์อย่างเป็นทางการของงานนั้น ในงานนั้นปรเมศวร์ลองเปิดชื่อ @kapook ใช้
(Positioning Magazine กันยายน 2552)
ปรเมศร์ มินศิริ : “A New Earth : Awakening to Your Life’s Purpose”
หนังสือเล่มนี้เน้นไปที่ปรัชญาเชิงจิตวิญญาณ เนื้อหาหลายส่วนไปตรงกับหลักคำสอนในศาสนาต่างๆ ผู้เขียนบอกว่า “การบ่น” ไม่ว่าจะเสียงดังหรือในใจก็ตาม มันคือการเสริมสร้าง “อัตตา” ของเราเอง หลายครั้งอาจพัฒนารุนแรงจนถึงขั้นตราหน้าคนอื่น ด่าทอและทำร้ายในที่สุด หากเสริมด้วยอารมณ์เจ็บใจ สิ่งเหล่านี้เองเป็นเหมือน “กับดักทางความคิด” ให้เราหลงติดอยู่ในวังวนความเจ็บแค้น จนไม่สามารถประสบความสำเร็จในชีวิตได้
(Positioning Magazine สิงหาคม 2552)
mai มอบรางวัล10นักบริหารรุ่นใหม่
ตลาดหลักทรัพย์ mai จัดงาน buzi G party เป็นสื่อกลางให้นักธุรกิจรุ่น ใหม่มาพบปะสังสรรค์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางธุรกิจผ่านความบันเทิงแบบมีสาระ พร้อมมอบรางวัล TOP TEN mai Executive Award ให้แก่สุดยอดผู้บริหารรุ่นใหม่
(ผู้จัดการรายวัน 22 กันยายน 2548)
มุมมองผู้บริหารแถวหน้า ชี้ช่อง SMEs ปรับตัวหนีตาย
- จะทำอย่างไรเมื่อปัจจัยลบจากภายนอกรายล้อมอยู่รอบตัว?
- วิธีการปรับตัวที่ทำอยู่เพียงพอที่จะทำให้ธุรกิจก้าวไปได้อย่างราบลื่นหรือไม่?
- 4 ผู้บริหารมือโปรโชว์มุมมอง แนะวิธีคิดใหม่ แก้ปมปัญหา
- แปะโลโก้องค์กรดัง "TIFFA-ทีวี ไดเร็กต์-Kapook.com-DKSH" จาก 4 ธุรกิจทันสมัย "ลอจิสติกส์-การตลาดแบบตรง-ไอที-การบริหารจัดการสินค้า" ขึ้นเวทีร่วมเสวนา
- เพื่อปลาเล็กที่จะสู้เพื่ออยู่รอดและเติบโต...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 พฤษภาคม 2549)
"mai Executive Award 2005" คิดใหม่-ทางใหม่-เลือดใหม่-ตลาด mai
- แลลอด 10 โมเดลการบริหารจัดการของนักธุรกิจรุ่นใหม่กับรางวัล "TOP TEN mai Exective Award 2005"
- ความสามารถบนวิถีทางแห่งความโปร่งใส ใหม่สดและสอดรับกับโลกยุคบรอดแบนด์
- ผลักแนวคิดบริหารคนและองค์กร ของเหล่าบรรดาเลือดใหม่ไฟแรง : ฟาร์มโชคชัย-ดวงฤทธิ์ บุนนาค-อมรินทร์ พรินติ้ง-สหมงคลฟิล์ม-แมทชิ่ง-บ้านใร่กาแฟ-เมืองไทยประกันชีวิต...
- อะไรคือแก่นสารความคิด และทางเลือกแห่งความสำเร็จ ที่สะท้อนบริบทตลาด mai?
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 กันยายน 2548)