Come back
2 ปีเต็มที่หายหน้าไปจากธุรกิจอินเทอร์เน็ต วันนี้เธอตัดสินใจหวนคืนสู่ธุรกิจให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ ISP ที่เคยสร้างชื่อให้กับเธอมาแล้ว 6 ปีที่แล้ว ดร.กนกวรรณ ว่องวัฒนะสิน ได้ร่วมกับศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน มองเห็น "โอกาส" จากการมาของอินเทอร์เน็ตก่อนใคร ร่วมกันบุกเบิกบริษัทเคเอสซี อินเทอร์เน็ต
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
กนกวรรณ ว่องวัฒนสิน อำลาวงการ แต่เอ็มเว็บยังแค่เริ่มต้น
เธอเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการธุรกิจอินเทอร์เน็ตไม่กี่ราย ที่ได้เม็ดเงินจากธุรกิจที่เธอสร้างขึ้นมาด้วยเงินทุน
3.5 ล้านบาท นอกจากปรเมศวร์ มินศิริ เจ้าของเว็บไซต์ sanook.com กนกวรรณ
ว่องวัฒนะสิน ก็จัดเป็นอีกคนหนึ่งที่ได้ชื่อว่า สามารถทำเงินจากธุรกิจอินเทอร์เน็ต
เป็นผลมาจาก การที่เธอขายหุ้นทั้งหมดในบริษัทศูนย์บริการวิทยาการ อินเทอร์เน็ต
จำกัด (Internet KSC) ให้กับกลุ่มเอ็มเว็บ ประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
ศึกจัสมิน-เคเอสซี happy ending
คดีทางธุรกิจระหว่างจัสมิน และเคเอสซี ในกรณีการขายหุ้นของ IKSC ให้กับเอ็มเว็บ จบลงด้วยดีจากการประสานประโยชน์ร่วมกัน และน่าติดตามต่อไปว่าทุกฝ่ายจะประสานธุรกิจร่วมกันต่อไปอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
อะมีบา ดอทคอม งานใหม่ของ ดร.กนกวรรณ
นอกจากต้องแบ่งเวลาให้กับร้านจีโอ ตั้งอยู่ใน H 1 ซอยทองหล่อ กิจการส่วนตัวที่ลงขันกับ เมตตา ตันติสัจธรรม และศักดิ์ชัย กาย เพื่อนรักทั้งสอง และช่วยกิจการ ISSP ธุรกิจของครอบครัว ทุกวันนี้ ดร.กนกวรรณ ว่องวัฒนะสิน ต้องเจียดเวลาไปกับการปลุกปั้น“อะมีบา ดอทคอม” ให้เป็นเว็บไซต์ดาวน์โหลดเพลง ไม่ต่างไปจาก iTunes เว็บไซต์ขายเพลงออนไลน์ของค่ายแอปเปิ้ล คอมพิวเตอร์
(Positioning Magazine มิถุนายน 2548)
อนาคตไอพี ทีวี-บรอดแบนด์ ทีวีไทย โครงข่ายไม่พร้อมแนวโน้มไปไม่รอด
บริการไอพีทีวี และบรอดแบนด์ทีวีในไทยแนวโน้มไปไม่รอด เพราะโครงข่ายไม่พร้อม ผู้ประกอบการมีอำนาจเหนือตลาด ผู้บริโภคไม่มีข้อเปรียบเทียบคุณภาพว่าดีจริง ไม่ดีจริง ย้ำประสิทธิภาพยังไม่เท่าดูทีวีปกติ ขณะที่กลุ่มทรูยันความเร็วขนาด 256 กิโลบิตต่อวินาทีสามารถดูไอพีทีวีได้
(ผู้จัดการรายวัน 6 พฤศจิกายน 2549)
ธุรกิจบนเน็ตโตก้าวกระโดดยาก B2Bต้องใช้ความอดทนและอึด
ธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโอกาสโตแบบก้าวกระโดดยาก หลัง e-Procurement นโยบายภาครัฐที่หวังใช้กระตุ้นอี-คอมเมิร์ซให้เกิดเจ้า
ของตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ถอด ใจ เพราะมูลค่าโครงการต่ำ กำไรน้อย ซึ่งจะส่งถึง
B2B ที่ยังต้องร้อง เพลงรอ ขณะที่คนไอทีเชื่อ B2B เกิดแน่แต่ต้องใช้เวลาและอดทน
(ผู้จัดการรายวัน 11 มีนาคม 2546)
อินแทอร์เน็ต+ไอทีโซลูชั่นแตกต่างสไตล์ "ไอเอสเอสพี
"ไอเอสเอสพี" ซินี่ยี่ "ยู-นี่ดอทคอม" เต็มสูบ วางกลยุทธ์ปีหมูทอง ล้างภาพลักษณ์เก่า ชูภาพลักษณ์ใหม่ "อินเทอร์เน็ตบวกไอพีโซลูชั่น" ทางออกไอเอสพีไทย ขณะที่ยู-นี่ดอทคอมชูยุทธศาสตร์แวส สแควร์ สร้างคอมมูนิตี้ออนไลน์สร้างจุดเด่นในธุรกิจโมบายคอนเทนต์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)