ฉัตรชัย บุนนาค ผู้กุมอนาคตฟอร์ดในไทย
ฉัตรชัย บุนนาค ได้รับการยอมรับจากคนหลายวงการในความเป็นนักบริหารมืออาชีพ ดังนั้นเมื่อเขาได้เข้ามารับบทเป็นประธานของฟอร์ดในประเทศ
ไทย เส้นทางของยักษ์ใหญ่ด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ของอเมริกาในช่วงหลังจากนี้ จึงเป็นเรื่องที่น่าติดตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ฉัตรชัย บุนนาค จากวงการไอทีสู่รถยนต์
หลังจากคลุกคลีอยู่ในวงการไอทีมาตลอด
ในช่วงระยะเวลากว่า 20 ปี
วันนี้ฉัตรชัย บุนนาค
ต้องกระโดดข้ามสายธุรกิจที่มีความชำนาญ
เพื่อเข้ารับตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดในบริษัทผู้ผลิตรถยนต์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
ปิดฉากพันธมิตรเทลสตาร์-สามารถ งานนี้ฉัตรชัย บุนนาคไม่เกี่ยว?
กรณีการสิ้นสุดสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสามารถและบริษัทเทลสตาร์ ที่มีมายาวนานกว่า
7 ปี ด้วยการที่กลุ่มสามารถซื้อหุ้นจำนวน 1,400,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 160
บาท ( มูลค่าตราไว้หุ้นละ 100 บาท ) เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 224 บาท หรือคิดเป็นสัดส่วน
40% จากบริษัทเทลสตาร์ ที่ถืออยู่ในสามารถเทลคอมกลับคืนมาทั้งหมด ส่งผลให้บริษัทสามารถคอร์ปอเรชั่น
จำกัด ถือหุ้นในบริษัทสามารถเทลคอมรวมเป็น 85% ของทุนจดทะเบียน 350 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"ฉัตรชัย"บิ๊กฟอร์ดโบกมือลา
ฉัตรชัย บุนนาค ประธานฟอร์ดประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้บริหารไทยคนเดียวที่นั่งตำแหน่งประธานบริษัทยานยนต์ในไทย ประกาศลาออกหลังเข้าบริหารงานในฟอร์ด 4 ปีครึ่ง อ้างถึงจุดสูงสุดของตำแหน่งผู้บริหารมืออาชีพ พร้อมเผยชีวิตหลังจากนี้ขอทำงานด้านที่ปรึกษา ด้านฝึกอบรม และเป็นอาจารย์พิเศษตามถนัด
(ผู้จัดการรายวัน 17 สิงหาคม 2547)
ฟอร์ดหนีภาพรถปิกอัพนิสสันฮุบพรประภา75%
"ฟอร์ด" ดิ้นหนีภาพ Truck Company ทุ่มกว่าสองหมื่นล้าน พัฒนารถยนต์รุ่นใหม่ๆ
เอสยูวี เก๋งคอมแพกต์ และซิตี้คาร์ ก้าวสู่การเป็น Motor Company ในสายตาลูกค้าไทย
ขณะที่ "นิสสัน มอเตอร์ส" คาดทุ่มนับหมื่นล้านบาท เพิ่มทุนและซื้อหุ้นใหญ่
75% ใน"เอสเอ็นเอ" ผู้ผลิตและขายรถนิสสันในไทย จากกลุ่มสยามกลการของตระกูล
"พรประภา" โดยประธานใหญ่ "คาร์ลอส กอส์น" จะเดินทาง มาเซ็นสัญญาและร่วมแถลงข่าวในวันจันทร์ ที่ 5 เม.ย.นี้
(ผู้จัดการรายวัน 31 มีนาคม 2547)
ยำใหญ่สรรพสามิตค่ายรถจี้รัฐออกพ.ร.บ.รถยนต์
ค่ายรถรุมยำหน่วยงานจัดเก็บภาษี โดยเฉพาะกรม สรรพสามิตดำเนินงานไม่ทันการพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรมอุตสาหกรรมยานยนต์ คิดอะไรง่ายๆ ไม่เข้าใจธุรกิจรถยนต์ ชอบแต่เล่นบทตัวถ่วงสวนทางนโยบายรัฐบาล
(ผู้จัดการรายวัน 13 มิถุนายน 2546)
แหกโค้ง! กลยุทธ์ ตั้งรับเศรษฐกิจถดถอย
เปิดปราการความคิดเชิงกลยุทธ์ รับมือกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่ส่อเค้าไม่แน่นอนจากหลายปัจจัย แนวโน้มจะค่อยๆ ลุกลามอย่างต่อเนื่องลากยาวไปจนถึงสิ้นปี ในบทของผู้นำควรปรับวิธีคิดอย่างไร? ให้สามารถรับมือกับภาวะถดถอยที่ถาโถมเข้ามาเป็นระลอกๆ
สิ่งที่ยึดมั่นถือมั่นมาโดยตลอดว่าเป็นกลยุทธ์ โดยเนื้อแท้แล้วยังใช่กลยุทธ์อยู่จริงหรือ? จะบริหารกลยุทธ์รุกและรับกันอย่างทันการณ์ได้ไหม? เวลาเจอเศรษฐกิจเคราะห์ซ้ำกรรมซัด? หลากมุมมองของนักบริหารจัดการจากหลายธุรกิจ บางไอเดียอาจจะเป็นโซลูชั่นส์ที่โดนใจใครหลายๆ คน...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 สิงหาคม 2549)
3 กล้าของผู้นำที่แท้ 'Assertiveness Style'
- แกะสลักกลไกเครื่องมือการจัดการ 'Assertiveness'
- "กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก" 3 วิถีแห่งคนกล้า เพื่อการปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารระดับไหน?
- กะเทาะแก่นวัฒนธรรมไทย บางแง่มุมที่ไปกัดกร่อนลึกถึงวัฒนธรรมองค์กร อย่างอาการขี้เกรงใจ ไม่กล้าพูด
- เปลี่ยนผู้นำให้เป็นคนใหม่ มุ่งเน้นการสื่อสารทรงพลัง เพิ่มประสิทธิภาพองค์กร
ถอดสลักความคิดของเครื่องมือ Assertiveness หรือ "กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก" มุมมองการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำ กับภารกิจปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 กันยายน 2548)