กลยุทธ์หลังวิกฤติผ่านมุมมองซีอีโอ
ในงานสัมมนา "กลยุทธ์หลังวิกฤติ ทิศทางปี 2553" ของธนาคารไทยพาณิชย์ อาจไม่น่าสนใจ หากธนาคารรายงานความคืบหน้าจากศูนย์วิจัยเพียงอย่างเดียว แต่เมื่อธนาคารเชื้อเชิญผู้บริหารระดับสูงจาก 3 ค่ายยักษ์ของเมืองไทย ปตท. เครือซิเมนต์ไทย และแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จึงกลายเป็นแม่เหล็กดึงดูดนักธุรกิจกว่า 600 คนเข้าฟังอย่างหนาแน่น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2552)
อนันต์ อัศวโภคิน มาม่ากำลังขายดี
ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ บริษัทที่ถูกอ้างอิงและนำมาเป็นตัวอย่างมากที่สุดก็คือบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ของอนันต์ อัศวโภคิน ด้วยความที่เป็นรายใหญ่อันดับหนึ่งในตลาด อันดับรองลงมายอดขายจึงห่างไกลหลายช่วงตัว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2550)
อนุพงษ์ หมายเลข 1 ไม่ใช่อนันต์ หมายเลข 2
อนุพงษ์ อัศวโภคิน กระโดดออกมาทำอสังหาริมทรัพย์ด้วยตัวเอง ทั้งๆ ที่พี่ชายของเขา อนันต์ อัศวโภคิน ก่อร่างสร้างบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จนแข็งแกร่ง ถ้าเขาเลือกเดินเข้าไปที่แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ตำแหน่งหน้าที่การงานก็คงไม่ต่ำต้อยนัก หากพิจารณาจากวุฒิการศึกษาที่เรียน และประสบการณ์ทำงานที่ผ่านมา แต่เขาเลือกออกมาทำ เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ กับพิเชษฐ วิภวศุภกร
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2550)
บ้าน แบรนด์และไลฟ์สไตล์ต้องไปด้วยกัน
ในยุคของพี่เบิ้มของวงการอสังหาริมทรัพย์อย่าง อนันต์ อัศวโภคิน สูตรสำเร็จของการพัฒนาโครงการที่ท่องกันขึ้นใจก็คือ ทำเล ทำเล และทำเล แต่มาถึงยุคน้องชายคนเล็กของตระกูลอย่าง อนุพงศ์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (เอพี) กลับเป็นยุคที่สูตรการพัฒนาต้องประกอบด้วย ทำเลและโปรดักส์ที่เข้ากับไลฟ์สไตล์ของกลุ่มเป้าหมาย
(Positioning Magazine สิงหาคม 2550)
ลูกค้าวัยจ๊าบของธนาคารแลนด์ฯ
ไม่บ่อยครั้งนักที่ “อนันต์ อัศวโภคิน” บิ๊กบอส แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จะออกมาแถลงข่าวด้วยตัวเอง หากไม่เป็นเพราะธุรกิจ “ธนาคาร“ ถือเป็น “จิ๊กซอว์” ธุรกิจที่มาเติมเต็มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้ครบเครื่องมากยิ่งขึ้น
(Positioning Magazine กันยายน 2548)
ศุภรัชฏ์ วีระกุล "หญิงนักสู้ชีวิตของ แลนด์แอนด์เฮ้าส์"
เบื้องหลังความสำเร็จเว็บไซต์ homedd.com มีศุภรัชฏ์ วีระกุล หรือปุ๋ย Vice President ฝ่าย Corporate Communication Department เป็นผู้ปลุกปั้น ให้เป็นเว็บไซต์ทางด้านอสังหาริมทรัพย์แรกๆ ที่บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ตั้งใจพัฒนาให้เป็น “สื่อกลาง”ระหว่างเจ้าลูกค้า
(Positioning Magazine มีนาคม 2548)
'อนันต์'แชมป์เศรษฐีหุ้นไทย
“อนันต์ อัศวโภคิน” ยังครองแชมป์เศรษฐีหุ้นไทยเป็นปีที่ 7 ด้วยการถือครองหุ้นมูลค่าเกือบ 1.6 หมื่นล้าน เพิ่มขึ้น 9% อันดับ 2 บอสใหญ่ค่าย พฤกษาฯ “ทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์” และอันดับ 3 “นิติ โอสถานุเคราะห์” ฟากมาลีนนท์ ครองแชมป์ตระกูลรวยหุ้น 11ปีติด
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 11 ธันวาคม 2552)
LHดิ้นสู้ศก.-การเมืองวุ่น ปรับลดพอร์ตบ้านเดี่ยว
พี่เบิ้มอสังหาฯ"อนันต์ อัศวโภคิน" ยอมรับ ยอดขายบ้านปี 52 อาจทำเท่าปี 51 หากเหตุความขัดแย้งทางการเมือง- ภาวะเศรษฐกิจตัวการสำคัญ ดิ้นสุดตัวปรับพอร์ตหันลงทุนคอนโดฯ ทาวน์เฮาส์เพิ่มเป็น 25% จากเดิมมีเพียง 15% เชื่อเศรษฐกิจไทยปีนี้ติดลบไม่ต่ำกว่า 6% เหตุตัวกระตุ้นเศรษฐกิจมีน้อย แนะรัฐหาเงินจากหวยบนดิน จัดเก็บภาษีเพิ่ม
(ผู้จัดการรายวัน 29 เมษายน 2552)
"วรเจตน์"ติดโผเศรษฐีหุ้นรั้งอันดับ5หลังฮุบซีฮอร์ส
"อนันต์ อัศวโภคิน" ครองแชมป์เศรษฐีหุ้นประจำปี 50 ถือหุ้นรวมมูลค่า 1.3 หมื่นล้านบาท ขณะที่ "วรเจตน์ อินทามระ" โผล่ติดโผอันดับที่ 5 ขยับจาก 661 ในปีก่อน หลังทุ่มเงินหลายพันล้านฮุบ "ซีฮอร์ส" กว่า 78% ส่วนตระกูลที่รวยหุ้นที่สุดตกเป็นของตระกูลมาลีนนท์ เข้าของไทยทีวีสีช่อง 3 ถือหุ้นรวมกันกว่า 2.6 หมื่นล้าน มูลค่าเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 36%
(ผู้จัดการรายวัน 13 ธันวาคม 2550)
เซียนฟันธงอสังหาฯปี’50นิ่ง แพ้-ชนะวัดฝีมือบริหารต้นทุน
แนวโน้มอสังหาฯ ปีหน้าไม่ต่างปีนี้ แลนด์ฯ-พฤกษาฯ แนะดีเวลลอปเปอร์ต้องเร่งปรับเทคโนโลยีก่อสร้างช่วยลดต้นทุน อย่าหวังขึ้นราคาบ้านระดับกลางเพื่อเพิ่มกำไร ชี้สภาพคล่องเหลือมาก ส่งผลปีหน้าสินเชื่อบ้านแข่งดุ ดูดกำลังซื้อกลับมา ศูนย์ข้อมูลฯ เผยไม่น่าห่วงโอเวอร์ซัปพลาย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 พฤศจิกายน 2549)