ไม่มีอีกแล้ว…สินค้าตกรุ่นที่ U-FO
"U-FO" ร้านเสื้อผ้าตกรุ่นในเครือพีน่า เฮาส์ กรุ๊ป ปรับตัวครั้งมโหฬาร
ลบภาพความเป็น FACTORY OUTLET ที่มุ่งเน้นขายสินค้าตกรุ่นราคาถูก แบรนด์ดังในเครือพีน่าฯ
อาทิ PENA HOUSE, BNN, GALLOP...เปลี่ยนรูปโฉมใหม่ สร้างความเป็นตัวของตัวเองด้วยการผลิตสินค้าชูแบรนด์ของตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2541)
TEN & CO เครือข่ายค้าปลีกเสื้อผ้า
ในภาวะที่ธุรกิจเสื้อผ้ายังเติบโตอย่างไร้ขีดจำกัดเช่นทุกวันนี้ ช่องทางการตลาดที่มีอยู่ครอบคลุม
และอยู่ในทำเลที่มีประสิทธิภาพ ดูจะเป็นไม้เด็ดสำคัญซึ่งหากค่ายใดมีไว้ ก็เหมือนมีชัยไปกว่าครึ่งแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
พีน่ากรุ๊ปโหมแบรนด์นอกสู้ภาษีแพ้ภัยเศรษฐกิจหดเป้าโตเหลือ5%
พีน่า กรุ๊ป ลุยสู้เศรษฐกิจพ่นพิษตลาดเสื้อผ้าชะลอตัว เป้าการเติบโตปีนี้พลาดจากโต 15% เป็นเหลือ 5% กวาดรายได้ 1,300 ล้านบาท เร่งรีโนเวตเอาท์เลททำเลทอง เพิ่มความถี่โปรโมชั่นกระทุ้งยอด พร้อมปรับตัวรับมือภาษีนำเข้าเหลือ 0% นำเข้าเสื้อผ้าอินเตอร์แบรนด์ 1-2 ยี่ห้อต่อปี
(ผู้จัดการรายวัน 11 กันยายน 2549)
แฟชั่นแบรนด์เนมออกอาการผวา พีน่า เฮาส์นิ่ง-มอร์แกนงัดทีเด็ดหวังโตสวนเศรษฐกิจ
ตลาดแฟชั่นหวั่นเศรษฐกิจฉุดกำลังซื้อผู้บริโภคลด โดยเฉพาะสินค้าอินเตอร์แบรนด์ได้รับผลพวงหนัก ส่วนโลคอลแบรนด์ได้เปรียบเพราะราคาถูกกว่า เชื่อครึ่งปีหลังทุกแบรนด์งัดสารพัดกลยุทธ์สู้ศึก "พีน่า เฮาส์"ไม่ลงทุนเพิ่มเน้นบริหารธุรกิจในมือให้ดี ด้าน"มอร์แกน" ชี้ตลาดแฟชั่นปีนี้โตไม่เกิน10% จากการเมืองวุ่นและเศรษฐกิจแย่ งัดทีเด็ดเน้นบริการและส่งสินค้าคอลเลคชั่นใหม่ทุกสัปดาห์ หวังเรียกกำลังซื้อกลับคืน ตั้งเป้าสิ้นปีเติบโตสวนทางเศรษฐกิจที่70%
(ผู้จัดการรายวัน 10 กรกฎาคม 2549)
พีน่าเฮ้าส์ลุยซีอาร์เอ็มสู้ไมเนอร์ ปีหน้าพาเหรดแบรนด์นำเข้าเพิ่ม
พีน่า เฮ้าส์นำกลยุทธ์ซีอาร์เอ็มมาใช้เสริมความแกร่ง ล่าสุดเตรียมออกบัตรสมาชิก แข่งกับเครือไมเนอร์ พร้อมเปิดตัวปีหน้า คาดปีหน้ามีสมาชิก 50,000 ราย เดือนหน้าเตรียม นำเข้าแบรนด์เอ็ดฮาร์ดี้บุกสยาม พารากอน เล็งนำแบรนด์ใหม่ 3 แบรนด์มาเปิดตัว เปิดชอปเอ็กซ์โอเอ็กซ์โอที่สยามเซ็นเตอร์ในรูปแบบคอนเซ็ปต์ สโตร์ หวังปีหน้าโกยรายได้ 60 ล้านบาท เผยการปรับตัวของศูนย์การค้าส่งผลกระทบต่อยอดขายบางแบรนด์โตต่ำกว่าเป้า 20-30%
(ผู้จัดการรายวัน 2 พฤศจิกายน 2548)