Fast-Tracked Building
ความพยายามผลักดันการสร้างอาคารแบบประหยัดพลังงานจากภาครัฐ เป็นโอกาสของอิฐมวลเบาที่จะมาแทนอิฐมอญ ในฐานะที่เป็นวัสดุกันการสะสมความร้อนในผนังกำแพง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
คิวคอนชูจุดขายเทคโนโลยีเยอรมนี ขยายตลาดส่งออกวางเป้าโตเพิ่ม15%
"คิวคอน" เดินหน้าสร้างยอดขายตลาดส่งออก หวังขยายการเติบโตเพิ่ม 15% หลังส่งออกอิฐมวลเบาหรือคอนกรีตมวลเบาคุณภาพมาตรฐาน HEBEL ประเทศเยอรมนีไปในประเทศแถบมหาสมุทรอินเดีย ขณะที่ตลาดในประเทศเร่งขยายตัวแทนจำหน่ายเพิ่มอีก 100 แห่งทั่วประเทศ
(ผู้จัดการรายวัน 17 พฤษภาคม 2550)
คิว-คอนปรับราคาขายหวังรักษามาร์จิน27%
"คิว-คอน" แจงสงครามราคาปี 48 ส่งผลกำไรบริษัทหดเหลือแค่ 28 ล้านบาท ปี 49 ปรับขึ้นราคาอิฐมวลเบาอยู่ที่ 130-135 บาท/ตร.ม. หวังดึงกำไรเพิ่ม ยันรักษากำไรขั้นต้นไม่ต่ำกว่า 27% พร้อมตั้งเป้าโต 30% ยอดขาย 1,200 ล้านบาท หวั่นโครงการรัฐชะลอก่อสร้างส่งผลตลาดอิฐมวลเบาชะลอตาม เตรียมเพิ่มตัวแทนจำหน่ายจาก 100 รายเป็น 300 รายในปีนี้
(ผู้จัดการรายวัน 30 มีนาคม 2549)
"Q-CON" ผุดโรงงานแห่งที่4ดันยอดขายพุ่ง2.2พันล้านบ.
Q-CON ตั้งบริษัทย่อย "คิว-คอน อีสเทอร์น" มูลค่าลงทุนกว่า 800 ล้านบาท คาดสามารถเริ่มผลิตสินค้าป้อนตลาดได้ภายในไตรมาส 3 ปี48 รองรับแผนการผลิตป้อนตลาด 9-10 ล้านตารางเมตร ดันยอดขายปีหน้า พุ่ง 2-2.2 พันล้านบาท
(ผู้จัดการรายวัน 3 พฤศจิกายน 2547)
คิวคอนเลิกขายตรงเข้าโครงการเน้นขายผ่านเอเยนต์100%ใน3ปี
ตลาดอิฐมวลเบาร้อนระอุ คิวคอนเตรียมขยายฐานตลาดทั่วประเทศ เลิกขายตรง ปรับแผนมุ่งบทบาทผู้ผลิต เร่งเจาะตลาดเอเยนต์ 100% ภายใน 3 ปี พร้อมตั้งศูนย์อบรมผู้รับเหมา ให้ความรู้การใช้ผลิตภัณฑ์ หวังดันตลาดอิฐมวลเบารวมโต
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 ตุลาคม 2549)
คิว-คอน ลุยตลาดต่างจังหวัดส่งอิฐมวลเบาแทนที่อิฐมอญ
เป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่าต้นทุนการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือ ต้นทุนการขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงที่ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นไม่เว้นแต่ละวัน ยิ่งทำให้ต้นทุนการขนส่งเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 เมษายน 2549)