มองทุกมุมในการใช้ Social Media เพื่อการสร้าง Brand
ผมเปิดหนังสือ ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย Facebook ซึ่งผมเขียนและวางจำหน่ายเมื่อต้นปี เกิดความรู้สึกว่า แม้ว่าจะได้วางแนวทางในการสร้างแบรนด์ด้วย Social Media โดยเน้นไปที่การสร้างความแตกต่างด้วยคุณค่าของแบรนด์ ไม่ว่าจะเป็นคุณค่าในเชิงการใช้ (Functional Value) หรือคุณค่าในเชิงอารมณ์ความรู้สึก (Emotional Value) แต่นั่นก็ยังไม่ตอบโจทย์ในการสร้างมูลค่าของแบรนด์ หรือ Brand Equity ได้ดีเพียงพอ สาเหตุสำคัญ เกิดจากกรอบการอธิบายในหนังสือดังกล่าว ใช้เพียง 1 ใน 4 ขององค์ประกอบของ Brand Equity เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2554)
การใช้ Social Media สำหรับ CRM เพื่อสร้าง Brand Loyalty
แม้ปัจจุบันธุรกิจไทยมีการใช้ Social Media กันอย่างแพร่หลาย เท่าที่ผมสังเกตจะเห็นได้ว่าใช้โดยมีวัตถุประสงค์ในการเพิ่มยอดขายในระยะสั้นเสียมากกว่า คือมองเป็นเครื่องมือในการขาย (Sale Tool) มากกว่าเป็นเครื่องมือทางการตลาด (Marketing Tool)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2554)
Generic Branding ตัวอย่างการพัฒนาของ 3M
วันที่ 8 ธันวาคมของทุกปี ถือเป็นวันสำคัญของเครือซิเมนต์ไทย จากผลที่วันดังกล่าวเป็นวันจดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัดเมื่อปี พ.ศ.2456 และผู้คนในเครือซิเมนต์ไทยก็ยึดเอาวันดังกล่าวเป็นเสมือนหนึ่งวันเกิดของบริษัทต่อเนื่องเรื่อยมา
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
”สร้างแบรนด์ไม่พอ” ต้องสร้างให้เกิดประสบการณ์ใน Brand ด้วย
หากถามว่า การสร้าง Brand คืออะไร เป็นชื่อหรือเป็นสัญลักษณ์หรือเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความแตกต่างกว่าคู่แข่งขัน ซึ่งปัจจุบันการสร้าง Brand หรือการเกิดคุณค่าในสายตาลูกค้า Customer-Based Brand Equity (CBBE) นั้นต้องเกิดเนื่องจาก
(Positioning Magazine 23 เมษายน 2555)
สร้างแบรนด์ “ใจดี” ในยุค G Wave
ในปี 2012 เทรนด์การตลาดสำหรับประเทศไทยที่มาแรงแซงทุกวิกฤตเวลานี้ ต้องยกให้เทรนด์ “แบรนด์ ใจดี หรือ Generosity Brand” ซึ่งเป็นกลยุทธ์การสร้างแบรนด์ที่สามารถฝังแบรนด์เข้าไปในใจของผู้บริโภคได้แบบหยั่งรากลึก แล้วจะใจดีอย่างไรให้โดน
(Positioning Magazine 15 ธันวาคม 2554)
ส่องแถวแบรนด์ทั่วโลก
ผลิตภัณฑ์ของ Apple เป็นแบรนด์แรกๆ ในโลกที่เปลี่ยน Product Launch ธรรมดาๆ ให้กลายเป็นอีเว้นท์ ง่ายกว่ามากที่จะเปิดให้ Pre-order ทางออนไลน์ แต่ Apple เลือกที่จะใช้กลยุทธ์เข้าคิว โดยเฉพาะ iPhone4 และ iPad2 ทั้งยังแสดงให้เห็นถึงพลังของแบรนด์
( 17 ตุลาคม 2554)
ธุรกิจไทยดิ้นสู้บาทแข็ง แบรนด์เนมรุกอัดโปรโมชันดันยอด
แนะสต๊อกวัตถุดิบนำเข้าเพิ่มขึ้นระยะสั้น ไอ.ซี.ซี.จ่ออัดโปรโมชันหนัก สกัดสินค้าแฟชั่นยอดร่วง โอกาสทองสินค้าแบรนด์เนมคึกคัก ฉวยทำโปรโมชันดันยอด ระบุเงินบาทรูดต่ำกว่า 30 บาทต่อดอลลาร์ การแข่งขันการค้าไทยเสียเปรียบ
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 13 กันยายน 2553)
โมเดลธุรกิจยุคดิจิตอล อินเด็กซ์ฯ ปั้นคนให้เป็นแบรนด์
บนสมรภูมิการตลาดในวันนี้ หัวใจสำคัญของการแข่งขันอยู่ที่แบรนด์อันแข็งแกร่ง ที่จะนำสินค้าหรือบริการใดๆ สู่เส้นชัยความสำเร็จทางการตลาด แบรนด์ที่เข้มแข็งระดับโลกในกลุ่มไอทีอย่าง แอปเปิล ปล่อยสินค้าในตระกูล i ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด เครื่องเล่น iPod โทรศัพท์มือถือ iPhone หรือโน้ตบุ๊ก iBook ล้วนแต่ประสบความสำเร็จถ้วนหน้า แบรนด์ดังในกลุ่มรถโฟร์วีล อย่าง Jeep ขยายจากรถรุ่นต่าง ๆ ต่อยอดสู่ความนิยมในแอกเซสซอรีเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
(ผู้จัดการรายวัน 1 กันยายน 2551)
แบรนด์ดังวัดใจ ดูดพลัง “คนรุ่นใหม่”
ห้างสรรพสินค้า แชมพูสระผม เครื่องสำอาง แบรนด์เสื้อผ้า แอลกอฮอล์ แม้กระทั่งในธุรกิจขายตรง ต่างไม่ยอมตกขบวนผู้บริโภครุ่นใหม่ รวมไปถึงยังมีอีกหลากหลายผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะเคลื่อนทัพเอาใจผู้บริโภคกลุ่มนี้ในอนาคต
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 พฤษภาคม 2554)
ยุทธศาสตร์สร้างแบรนด์..ตลาดเกิดใหม่
แบรนด์ คงเป็นประเด็นสำคัญที่ทุกกิจการต้องคำนึงถึงในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันอยู่เสมอ โดยเฉพาะกับกิจการในประเทศตลาดเกิดใหม่ นับวันจะพยายามเข้าสู่ตลาดโลกมากขึ้นเรื่อยๆ การสร้างความเชื่อมั่นและภาพลักษณ์ในแบรนด์ จึงเป็นประเด็นร้อน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 มกราคม 2554)
กลยุทธ์สร้างแบรนด์รอยัลตี้ รับเทรนด์ลูกค้าคาดหวังสูง
เมื่อลูกค้ามี"ตัวเลือก"มากขึ้น สินค้า"ไม่แตกต่างกัน" ผลที่ตามมาคือ ความภักดีต่อแบรนด์สินค้ามีลดน้อยลง จึงกลายเป็นโจทย์ใหญ่ให้เจ้าของสินค้า นักการตลาดต่างมุ่งค้นหาคำตอบ เพื่อเข้าไปเป็นแบรนด์ในใจและรักษาลูกค้าไว้อย่างยาวนาน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 ธันวาคม 2553)
ผลวิจัยเผย 75% ของผู้บริหารบริษัทมัลติแบรนด์ชี้ แบรนด์บริษัทแม่สำคัญไม่แพ้แบรนด์สินค้า
เวเบอร์ แชนวิค ร่วมกับ เคอาร์ซี รีเสิร์ช เผยผลสำรวจ ว่า ปัจจุบันบริษัทส่วนใหญ่ต่างให้ความสำคัญกับการสร้างภาพลักษณ์องค์กรมากขึ้น โดยกว่า 3 ใน 4 หรือ 75 เปอร์เซ็นต์ของผู้บริหารบริษัทมัลติแบรนด์ (บริษัทที่มีผลิตภัณฑ์หลายแบรนด์ในตลาด) ต่างก็เชื่อว่าชื่อเสียงของบริษัทแม่เจ้าของผลิตภัณฑ์นั้น มีความสำคัญไม่แพ้แบรนด์ผลิตภัณฑ์
(เวเบอร์ แชนด์วิค 20 สิงหาคม 2555)
เอสซีจี เปิดตัว “สำนักงานบริหารแบรนด์”
เพื่อทำหน้าที่วางกลยุทธ์ กำหนดทิศทาง บริหารจัดการและดูแลแบรนด์ตราช้างและคอตโต้ ให้มีประสิทธิภาพและเป็นระบบ รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่ม ดูแลรับผิดชอบจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา และวางแผนการดำเนินงานในระยะยาวเพื่อให้แบรนด์ทั้ง 2 เติบโต
(อินทิเกรเต็ด คอมมูนิเคชั่น, บจก. 6 กันยายน 2553)