ค่ายเพลงยุคไฮสปีด คัดศิลปินใหม่ ได้ทั้งเงิน ได้ทั้งชื่อ
ปกติการคัดเลือกศิลปินของค่ายเพลงหนึ่งๆ จะรับจากผู้ที่เข้ามาสมัคร ส่งผลงานมา หรือไปหาตามเวทีต่างๆ และถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทค่ายเพลงนั้นๆ แต่ล่าสุดค่ายเพลงใหม่ Love Is ของ “สุกี้ และ บอย” ผู้ก่อตั้งเบเกอรี่มิวสิค ใช้วิธี contest marketing มาสร้างทั้งศิลปินใหม่ สร้างรายได้ และประชาสัมพันธ์ชื่อค่ายที่ยังใหม่ไปพร้อมกัน
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2548)
กมล สุโกศล แคลปป์ “Back To Indy”
12 ปีที่แล้ว กมล “สุกี้” สุโกศล แคลปป์, ชีวิน “บอย” โกสิยพงษ์ และสมเกียรติ “มิสเตอร์ซี” อริยชัยพาณิชย์ จับมือกันก่อตั้ง Bakery Music สร้างความแปลกใหม่ให้วงการเพลงไทย ด้วยลีลาดนตรีและการเปิดอิสระให้ศิลปินเป็นตัวเองในแบบ “indy” ความฝันของของพวกเขาเติบโตอย่างรวดเร็วสู่ความเป็นธุรกิจเต็มตัวและแตกไลน์ไปยังนิตยสารและรายการทีวีรวมถึงธุรกิจจัดจำหน่ายเทปและแผ่น
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2548)
“ปพนธ์ รัตนชัยกานนท์”จับความชอบใส่สินค้าไลฟ์สไตล์ให้ทรู
“ผมอาจจะโชคดีตรงที่ชอบอะไรก็ได้ทำในสิ่งที่ชอบ อาทิ ชอบเรื่องรถ ก็ได้ทำงานที่มาสด้า หรือชอบเพลง ก็มีโอกาสทำงานที่เบเกอรี่ มิวสิก ทำให้ผมมีโอกาสได้สั่งสมประสบการณ์หลายๆ ด้าน และสามารถมิกซ์งานให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ได้ง่ายขึ้น”
(Positioning Magazine มิถุนายน 2548)
บีเอ็มจีกรุ๊ปปรับองค์กรรื้อระบบขาย
บีเอ็มจี ปรับโครงสร้างใหม่ดึง "สุกี้ กมล" นั่งเอ็มดี รวมการบริหารบีเอ็มจี เบเกอรี่
มิวสิคเข้าด้วยกัน เดินกลยุทธ์โปรโมตเพลงไทยคู่เพลงสากล ระบุตลาดเพลงสากลทั่วโลกตกต่ำ
จากปัญหาละเมิดลิขสิทธิ์บนอินเทอร์เน็ต
(ผู้จัดการรายวัน 3 ตุลาคม 2546)