กรณีศึกษา "Yahoo! Japan" รางวัลแห่งการตัดสินใจที่ถูกต้อง
ไทม์แมชีนในจินตนาการของเอช.จี. เวลส์ นักเขียนชื่อดังชาวอังกฤษนั้น คืออุปกรณ์สำคัญที่นำพามนุษย์ล่องไปสู่โลกอนาคตในอีก 8 แสนปีข้างหน้า แต่สำหรับซอฟท์แบงก์ อุปกรณ์มหัศจรรย์ที่ว่านี้ก็คือ กลุ่มบริษัทอินเตอร์เน็ตยี่ห้ออเมริกาที่บริษัทฯ นำเข้ามาในตลาดเอเชีย หลังจากที่ธุรกิจเหล่านี้เปิดตัวในสหรัฐฯ เพียงไม่กี่ปี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
ซอฟท์แบงก์จะหาทางออกจากภาวะหนี้ท่วมอย่างไร?
ขณะที่ธุรกิจอินเตอร์เน็ตอื่น ๆ เน้นที่การพึ่งเงินจากนักลงทุน เพื่อเป็นแหล่งระดมทุนดอกเบี้ยต่ำสำหรับธุรกิจความเสี่ยงสูง ซอฟท์แบงก์กลับเน้นที่การระดมเงินด้วยการกู้ยืม เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ผลที่ตามมาจะเป็นอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
มาซาโยชิ ซัน - เขาเกิดมาเพื่อเป็นผู้นำ
หลังจากสร้างให้ธุรกิจจำหน่ายซอฟท์แวร์ที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ได้รับการขนานนามในโลกอินเตอร์เน็ตแห่งเอเชียสำเร็จ ซันต้องคอยเฝ้าดูความตกต่ำของตลาดหุ้น, ภาวะการลงทุนที่ขาดความเชื่อมั่น ตลอดจนธุรกิจที่ไร้ทิศทางของซอฟท์แบงก์ คอร์ป ที่เขาก่อร่างขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
เอสบีไอ โฮลดิ้งด์ยุติความสัมพันธ์ด้านทุนกับซอฟแบงค์
ในการขายหุ้นทั้งหมดที่แบ่งเป็น 2 ส่วนเมื่อเร็วๆ นี้ ซอฟแบงค์ คอร์ปอเรชั่น ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจอินเทอร์เน็ตและสื่อได้ยุติความสัมพันธ์ด้านทุนกับบริษัท เอสบีไอ โฮลดิ้งส์ ซึ่งเป็นยักษ์ใหญ่ด้านการให้บริการการเงินที่เติบโตเร็วที่สุด
(Thai Business News 25 สิงหาคม 2549)