จับตา Southern Corridor เมื่อทั้ง ADB และออสเตรเลียร่วมแรงผลักดัน
Southern Corridor ถือเป็นระเบียงเศรษฐกิจที่มีระดับการพัฒนาทิ้งห่างจากโครงการอื่นๆ ใน GMS แต่เมื่อจีนประกาศเดินหน้าก่อสร้างเส้นทางรถไฟความเร็วสูงผ่านลาวและไทย ทั้งออสเตรเลียและ ADB ก็ไม่อาจอยู่เฉยสำหรับการเร่งรัดเดินหน้าโครงการทางด้านใต้ในหลายช่องทาง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2554)
อนาคตของเอเชียในทัศนะของ ADB
"เพื่อให้ได้ความเจริญที่เป็นจริง มั่นคง และรวดเร็ว ประเทศต่างๆ ในทวีปเอเชียจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรวมตัวกันเป็นภูมิภาค" ราจัท เอ็ม นาค (Rajat M. Nag) ประธานกรรมการผู้จัดการใหญ่ของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank-ADB) กล่าวขณะบรรยายในหัวข้อเรื่อง "ความเป็นผู้นำในเอเชียยุคใหม่"
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2552)
เส้นทาง R3a กว่า 10 ปี จึงเป็นรูปเป็นร่าง
ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Sub regional Economic Cooperation ; GMS-EC) ที่เริ่มต้นผลักดันกันมาตั้งแต่ปี 2535 หรือ 15 ปีที่แล้ว โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) กำหนดแนวพัฒนาเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไว้ 10 เส้นทาง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
ADB ห่วงจีดีพีไทยลบ4%จี้รัฐแก้การเมือง-อัดงบ
เอดีบีชี้เศรษฐกิจไทยปีนี้หดตัว 2% คนตกงาน 2 ล้านคน หากเม็ดเงินจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจล่าช้า ปัจจัยภายนอกเม็ดเงินภาครัฐล่าช้า-การเมืองในประเทศไม่คลี่คลาย อาจมีโอกาสได้เห็นติดลบ 4-5% ระบุรัฐบาลไทยชุดนี้มีมาตรการต่อเนื่องจากรัฐบาลชุดก่อนสามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด เอดีบีพร้อมร่วมมือปล่อยกู้ เผยรัฐบาลไทยมีโครงการลงทุนจ่อคิวเพียบจนถึงปีหน้า
(ผู้จัดการรายวัน 1 เมษายน 2552)
เอดีบีนำร่องออกบาทบอนด์
ธนาคารพัฒนาเอเชีย ออกพันธบัตรสกุลเงินบาทวงเงิน 4,000 ล้านบาท นำร่องพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในภูมิภาคเอเชีย และสร้างความเชื่อมั่นตลาดทุนในสายตานักลงทุนต่างประเทศ ระบุอัตราดอกเบี้ย 3.87% โดยนับเป็นครั้งแรกที่สถาบันการเงินระหว่างประเทศเป็นผู้ออกพันธบัตรสกุลเงินบาท
(ผู้จัดการรายวัน 19 พฤษภาคม 2548)
เอดีบีชี้เศรษฐกิจไทยปีนี้โตช้าลงอีก จับตาเมกะโปรเจคส์-หนี้เอกชน-ปฏิรูปศก.
ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย(เอดีบี)ชี้ เศรษฐกิจไทยปีนี้ยังจะเติบโตชะลอตัวลงต่อเนื่องจากในปีที่แล้ว ขณะที่ประเด็นปัญหาซึ่งควรต้องจับตาติดตามได้แก่ เรื่องการดำเนินโครงการขนาดใหญ่, ความไม่สมดุลของหนี้สินภาคเอกชน, และการที่รัฐบาลจะใช้โอกาสซึ่งมีความเข้มแข้งในรัฐสภายิ่งขึ้น มาส่งเสริมการปฏิรูปทางเศรษฐกิจหรือไม่
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 พฤษภาคม 2548)
เศรษฐกิจเอเชียปีนี้เติบโตแข็งแกร่ง แม้เผชิญทั้งน้ำมันแพง-ดอลลาร์อ่อน
เศรษฐกิจของประเทศในเอเชีย สามารถดูดซับผลกระทบทั้งของราคาน้ำมันที่สูงลิ่วเป็นประวัตการณ์ และของเงินดอลลาร์สหรัฐฯซึ่งอ่อนฮวบลงมาได้เป็นอย่างดี โดยยังคงมีผลประกอบการที่แข็งแรงในปี 2004 อีกทั้งอยู่ในฐานะที่จะเจริญเติบโตต่อไปในปีหน้าได้อย่างมั่นคง แม้ด้วยอัตราซึ่งน่าตื่นใจน้อยลง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 มกราคม 2548)