กรุงเทพฯพาณิชย์การ ยุค "อินทรทูต" ที่นี่ยังไม่มีอะไรใหม่!?
จาก 28 มีนาคม 2529 จวบวันนี้ก็ครบปีเต็ม ที่ธนาคารกรุงเทพพาณิชย์การ มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง
มีทีมบริหารรุ่นใหม่ไฟแรงเข้ามา แง้มประตูเปิดกว้างให้รู้จักมากขึ้น แต่เกริกเกียรติ
ชาลีจันทร์ผู้บริหารงานตัวจริงและทีมก็ไม่กล้าบอกว่า จะมีอะไรใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
เมื่อดาวหางฮัลเล่ย์โผล่ที่ชั้น 30 แบงก์กรุงเทพ
"ดาวหางดวงนี้ (ฮัลเลย์) มาขึ้นชัดแจ้งอีกทีในปี พ.ศ. 2453 ขึ้น เมื่อราว
ๆ กลางปี เดือนกรกฎาคม..สิงหา...กันยา....ในระหว่างนั้น แต่ขึ้นคราวนั้นผมยังไม่เกิดแต่ถึงจะยังไม่เกิดก็อยู่ในท้องแม่
(ฮา) ... เพราะฉะนั้นนี่แหละ ... ที่ว่ามันมากับฮัลเลย์ ... มันอาจจะเป็นมันนี้ก็ได้ไม่รู้ได้ (ฮา-ปรบมือ)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
ทำไมถึงต้องมี “ผู้จัดการแห่งปี” ถึงหลายคน ?
แม้กระทั่งทุกวันนี้ก็ยังมีคนเชื่อว่าคนที่เป็น “ผู้จัดการ” แห่งหนึ่งจะไม่ต่างกับ “ผู้จัดการ” อีกแห่งหนึ่งเท่าใดนัก? อาจจะเป็นเพราะใน CONCEPT ของ “ผู้จัดการ” นั้นทุกคนจะต้องมีบุคลิก “ผู้นำ”
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2527)
คำรณ ปราโมช ณ อยุธยา “ผมสร้างตลาด (IMAGE) ของผมขึ้นมาเอง”
ในเซ็กเมนต์แมกกาซีนผู้หญิง อิมเมจไม่ได้โดดเด่นเฉพาะไซส์หรือขนาดของรูปเล่มที่ใหญ่กว่าแมกกาซีนฉบับอื่น ซึ่งสะท้อนถึงต้นทุนการผลิตที่แพงกว่า หาก 18 ปีบนเส้นทางธุรกิจนิตยสารผู้หญิงเมืองไทย อิมเมจยังเป็นผู้เปลี่ยนแปลงแมกกาซีนผู้หญิงในหลายมิติ ทั้งหมดมาจากความคิดของผู้ชายที่ชื่อ “คำรณ ปราโมช ณ อยุธยา”
(Positioning Magazine พฤศจิกายน 2548)