ก้าวย่างของฟิลิปส์ในอุตสาหกรรมยานยนต์
หากเอ่ยชื่อฟิลิปส์ เชื่อว่าหลายท่านคงนึกถึงผลิตภัณฑ์เพื่อการมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Health and Well-being) ไลฟ์สไตล์ (Lifestyle) แน่นอนต้องมีไฟฟ้าและอุปกรณ์แสงสว่าง (Lighting) รวมอยู่ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2554)
Generation 3 ยุคสร้างแบรนด์
วัฎจักรธุรกิจขนาดกลางและเล็กในประเทศไทยเริ่มต้นจากรุ่นปู่ย่าบุกเบิกธุรกิจยุคพ่อแม่สร้างให้เติบโต เมื่อตกทอดไปสู่รุ่นลูกหลานจะทำหน้าที่ขยายธุรกิจ แบรนด์ BIKERS ผู้ผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ก็เป็นเฉกเช่นเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
แอล.เอ็น.เอส. ออโต้ กับจุดเปลี่ยนยามวิกฤติ
เป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจสำหรับกิตติธรา รวมธรรม ประธาน แอล.เอ็น.เอส.ออโต้ ผู้ประกอบการรถมือสองรายใหญ่ของภาคอีสานตอนบนที่สามารถหยิบฉวยโอกาสได้ทุกครั้งทิ่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ เธอมีวิธีคิดและการตัดสินใจอย่างไรในยามที่ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2552)
เพื่อบันเทิงในรถ
ไมโครซอฟท์ และซีเมนส์ ประกาศร่วมมือกันพัฒนาระบบความบันเทิงภายในรถยนต์ และระบบบอกเส้นทาง ซึ่งจะช่วยให้คนที่อยู่ในรถสามารถใช้อุปกรณ์อย่างโทรศัพท์มือถือเพื่อสื่อสาร และบันเทิงได้อย่างสะดวกสบาย โดยซีเมนส์พัฒนาอุปกรณ์ ส่วนไมโครซอฟท์รับหน้าที่พัฒนาซอฟท์แวร์ แต่แผนการผลิตวางไว้ในปี 2009 แม้จะช้าไปสักเล็กน้อย แต่ก็ถือว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดีของทั้งสองราย
(Positioning Magazine ตุลาคม 2550)
ชิ้นส่วนยานยนต์ญี่ปุ่น 100 รายหนีเยนแข็งแห่ย้ายฐานผลิตซบไทย
เบื้องต้นคาดว่าปีนี้มูลค่าการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ของไทยน่าจะอยู่ที่ประมาณ 3.8 แสนล้านบาท เพราะเมื่อดูจากมูลค่าการส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์ไทยในช่วง 8 เดือนของปีนี้ (ม.ค.-ส.ค.) มีมูลค่าอยู่ที่ 2.5 แสนล้านบาท
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 22 ตุลาคม 2553)
อุตฯรถยนต์เฟื่องโควต้าเหล็กหมดต้นทุนพุ่ง10%
อุตสาหกรรมยานยนต์พุ่งแรง ฟื้นเป็นรูปตัววี (V) ทำให้ผู้ประกอบการมองข้ามตัวเลขการผลิต ที่เคยประมาณการณ์ไว้เมื่อต้นปี 1.4 ล้านคัน ทะลุไปเป็น 1.5-1.6 ล้านคัน ส่งผลให้ประเมินปริมาณการใช้วัตถุดิบผิดพลาด โควต้าเหล็กที่ได้รับอนุมัตินำเข้าจากญี่ปุ่น 4.7 แสนตัน ภายใต้ข้อตกลง JTEPA อาจจะหมดในช่วงครึ่งปีหลังนี้ จนต้องหันมานำเข้าเหล็กนอกโควต้าแทน ส่งผลต้นทุนพุ่ง 5-10%
(ASTVผู้จัดการรายวัน 31 พฤษภาคม 2553)
ไทยรุ่งฯดึงต่างชาติร่วมทุน ขยายฐานตลาดชิ้นส่วนฯ
นายสมพงษ์ เผอิญโชค กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยรุ่งยูเนียนคาร์ จำกัด(มหาชน) ผู้ผลิตชิ้นส่วนและประกอบรถยนต์ดัดแปลงภายใต้แบรนด์ “ทีอาร์” เปิดเผยว่า ผลประกอบการของบริษัทฯ เมื่อปี 2552 ที่ผ่านมา อยู่ที่ประมาณ 1.4-1.5 พันล้านบาท หรือลดลง 30-40% เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ และความไม่แน่นอนทางการเมืองในไทย
(ASTV ผู้จัดการรายวัน 23 มีนาคม 2553)
คายาบาบุกเดี่ยว ปูฐานขยายตลาดโช้กอัพ
“คายาบา” โช้กอัพเจ้าตลาด เดินกลยุทธ์สร้างการรับรู้ด้าน Functional ตัวผลิตภัณฑ์ หวังปลุกตลาดโช้กอัพที่ในอดีตค่อนข้างนิ่งมานาน โดยเฉพาะเซกเมนต์โช้กอัพทดแทน หรือตลาด REM เหตุพฤติกรรมผู้บริโภคขาดความรู้ในเรื่องอายุการใช้งาน พร้อมอัดกิจกรรมโรดโชว์ และส่งผลิตภัณฑ์ใหม่กลุ่มรถแต่งเสริมตลาด
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 เมษายน 2554)
เลนโซ่บุกโซเชียลมีเดีย เจาะกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่น
ตลาดอุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์คึกคักตามตลาดรถยนต์ ล้อแม็กติดแบรนด์ เลนโซ่โหมตลาดผ่านกิจกรรมมอเตอร์สปอร์ตเป็นหลัก แต่ปีนี้เพิ่มช่องทางเจาะกลุ่มลูกค้าขาซิ่งผ่าน โซเชียลเน็ตเวิร์ก สื่อรูปแบบใหม่ที่ตลาดล้อแม็กให้ความสนใจ โดยเฉพาะแม็กราคาถูกจากจีนที่กำลังรุกตลาดอย่างหนักในช่วงปีที่ผ่านมา
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 มีนาคม 2554)
อุตฯชิ้นส่วนรถยนต์แรงคาดปี54โตอีก15% หวั่นต่างชาติตบเท้าตั้งโรงงายยึดตลาดไทย
นายกสมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไทยคาด ตลาดชิ้นส่วนรถยนต์จะโตได้อีก 4-5 ปี คาดสิ้นปีโต 80-90% ส่วนปีหน้าโตได้อีก 15% รับอานิสงค์ยอดขายอีโคคาร์ และปิคอัพพุ่ง หวั่นตลาดโตร้อนแรงดึงดูด เอสเอ็มอี ต่างชาติตบเท้าเข้าไทยผลิตชิ้นส่วนป้อนบริษัทค่ายรถ เบียดเอสเอ็มอีไทยแท้ตกขอบ
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤศจิกายน 2553)